แนวทางการพัฒนาสาขาวิชาของหลักสูตรในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

vatcharaporn prapasanobol

บทคัดย่อ

หลักสูตรเป็นเครื่องมือที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ กำหนดแนวทางในการประกอบอาชีพตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจของตนเอง ดังนั้นการบริหารจัดการหลักสูตรจำเป็นจะต้องเข้าใจถึงแนวโน้มการพัฒนาสาขาวิชาที่จะอยู่ในหลักสูตรเพื่อที่จะได้วางแผนการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีความเหมาะสมทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน การจัดการเรียนการสอนในแต่ละสาขาวิชา ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ มีความสามารถและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร ดังนั้นผู้สอนต้องมีเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ การเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ การสร้างความรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้แบบสืบเสาะ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน การเรียนรู้แบบบูรณาการ STEM และ STEAM และมีการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานด้วยการใช้เทคโนโลยีในรูปของการเรียนรู้ผ่านสื่อเคลื่อนไหว เพื่อเสริมสร้างทักษะที่สำคัญของผู้เรียนได้แก่ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะในโลกจริง เป็นต้น  การวัดและประเมินผลควรทำเพื่อพัฒนาโดยใช้วิธีการที่หลากหลายเหมาะกับผู้เรียนที่แตกต่างกันและนำผลที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนต่อไป  นอกจากนี้การจัดการเรียนการสอนควรนำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการสอนและประเมินผู้เรียน เพื่อให้การเรียนการสอนมีคุณภาพมากขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Articles)

References

กนก จันทร์ทอง. (2560). การสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ,
28(2), 227-241.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552) . หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551.กรุงเทพฯ: โรง
พิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จรรยา ดาสา. (2560). การสืบเสาะวิทยาศาสตร์ในมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ยุคใหม่ของประเทศ
สหรัฐอเมริกา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(2), 123-132.
ฉัตรชัย หวังมีจงมีและองอาจ นัยพัฒน์. (2560). สมรรถนะของครูไทยในศตวรรษที่ 21: ปรับการเรียน เปลี่ยน
สถานะ. วารสารสถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 12(2), 47-63.
พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2561). การเปลี่ยนมุมมองการบริหารองค์กรการศึกษาในโลก Disruptive. วารสาร
บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 8(2), 248-256.
พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์. (2558). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่21. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
พงษ์เอก สุขใส. (2561). ครูพลศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอิสเทอร์น, 12, 8-21.
เพ็ญพะนอ พ่วงแพ อนงค์พร สมานชาติและกัลยา เทียนวงศ์. (2562). การศึกษาคุณลักษณะของนักศึกษาฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วารสาร
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 39(5), 117-127.
วิจารณ์ พานิช. (2558). การวัดผลประเมินผลแห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2562 จาก
https://www.gotoknoe.org/posts/589130
วิชัย วงศ์ใหญ่และมารุต พัฒผล. (18 มกราคม 2563). การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน. เอกสาร
ประกอบการอบรม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2563 จาก http://www.curriculumandlearning.com/?page=SpecialCoaching&language=th
สมพร โกมารทัต. (2562). กลยุทธ์การเรียนภาษาต่างประเทศของผู้เรียนศตวรรษที่ 21. สุทธิปริทัศน์,
33(105), 187-197.
สำเริง อ่อนสัมพันธุ์. (2556). การบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษหน้า. วารสารบริหาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร, 4(1), 216-226.
สำลี ทองธิว. (14 ธันวาคม 2562). การบริหารจัดการหลักสูตร. เอกสารประกอบการอบรม. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
อภินภัศ จิตรกร. (2559). การจัดการเรียนรู้แบบศิลปะเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 14(1), 60-72.
อรรชนิดา หวานคง. (2559). การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21. วารสารสถาบันวิจัย
ญาณสังวร, 7(2), 303-314.
Baeder, A. E. (2016). Tips for effective blended learning. Principal, 95(4), 24-25.
Cornelly, G. (2016). Postscript: Mind shift on health and learning. Principal. Retrieved March 4,
2020, from https://www.naesp.org/principal-novemberdecember-2016-classrooms-focus/postscript-mindshift-health-and-learning
Duke, N. K., Halverson, A. L., & Strachan, S. L. (2016). Project-based learning not just for STEM
anymore. Phi Delta Kappan, 98(1), 14-19.
Ehrenworth, M. (2013). Unlocking the Secrets of Complex Text - Educational Leadership, 71(3), 16-21
Glatthorn, A. A., Boschee, F., Whitehead, B. M., & Boschee, B. F. (2019). Curriculum
Leadership: strategies for development and implementation (2 ed.). California, USA: SAGE publications.
Herrera, S. B. (2016). Cultivating creactivity. Principal, 95(4), 20-23.
Johnston, P. (2012). Guiding the budding writer. Educational Leadership, 70(1), 64-67.
Lam, W. S. E. (2013). What immigrant students can teach us about new media literacy.
Phi Delta Kappan, 94(4), 62-65.
Marchesso, J. (2016). Practitioner's corner: Science standards: A new vision. Principal,
96(1), 36.
Maslyk, J. (2016). Learning space transformation. Principal, 96(2), 12-15.
MIT Online Writing and Communication Center. (1999). The writing process.
Boston:Massachusetts Institute of Technology.
Olson,J. K. and Mokhtari, K. (2010). Making science real. Educational Leadership, 67(6), 56-
62.
Print, M. (1993). Curriculum development and design (2nd ed.). Sydney: Allen and Unwin.
Spronken-Smith, R. (2012). Experiencing the Process of Knowledge Creation: The Nature
and Use of Inquiry-Based Learning in Higher Education. Retrieved February 18,
2018, from https://akoaotearoa.ac.nz/sites/default/files/u14/IBL%20-%20Report%20- %20Appendix%20A%20-%20Review.pdf
Szekely, G. (2016). Fill up your digital toolbox. Principal, 95(5), 34-37.
UNESCO. Teaching and Learning for a Sustainable Future. Retrieved February 25, 2019,
From http://www.unesco.org/education/tlsf/index.html
Van Keer, H. and Vanderlinde, R. (2013). A book for two: Peer tutoring and reading
comprehension in elementary school practice. Phi Delta Kappan, 94(8), 54–58.
Whitehead, B.M., Boschee, F. and Decker, R.H. (2013).The principal:Leadership for a global
society. Thousand Oaks, CA:Sage.