ความท้าทายของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่ความบกพร่องทางการได้ยินกับการเป็นผู้เรียนในศตวรรษที่21
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความท้าทายในการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาคือการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ยิ่งผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินแล้วยิ่งเป็นความท้าทายยิ่งขึ้นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาอันเนื่องมากจากอุปสรรคในการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน เพื่อจะพัฒนาผู้เรียนให้สามารถก้าวไปเป็นผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นทักษะ ซึ่งประกอบไปด้วย 1) ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 2) คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 3) การสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยา 4) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 5) ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน 6) ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ 7) ทักษะการคิดชั้นสูงและนวัตกรรม 8) การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล 9) การทำงานแบบรวมพลังเป็นทีม และมีภาวะผู้นำและ 10) การเป็นพลเมืองตื่นรู้ที่มีสำนึกสากล
Article Details
บท
บทความวิชาการ (Articles)
References
ชุติมาธร นะมาเส. (2560). การใช้แนวคิดพหุปัญญาเพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่3. (วิทยานิพนธ์สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน,
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (มปป). ทักษะแห่งศตวรรษที่21 เพื่อการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธัญวลัย จารุเฉลิมรัตน์. (2553). การสร้างความตระหนักในสิทธิและโอกาสทางสังคมของคนพิการทางร่างกายและการเคลื่อนไหว. (วิทยานิพนธ์ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
ปกรณ์กิตติ์ ม่วงประสิทธิ์. (2560). รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อการมีงานทำของคนพิการทางการได้ยิน. MFU Connexion: Journal of Humanities and Social Sciences. 5(2), 156-177
พิไลรัตน์ ทองอุไรและเหม มณีมั่งคั่ง. (2551). การพัฒนาการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินโดยประยุกต์ใช้หลักศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่น (รายงานการวิจัย).คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์.
ไพฑูรย์ สินลารัตน. (2557). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: ต้องก้าวให้พ้นกับดักของตะวันตก. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
มยุรี ผิวสุวรรณ, ดารณี สุวพันธ์, วิไลภรณ์ โครตบึงแก, Karen Heinicke-Motsch, Bamey Mcglade และปิยมาส อุมัษเฐียร. (2556). CBR Guidelines ขององค์การอนามัยโลก ฉบับภาษาไทย (Community Based
Rehabilitation). กรุงเทพฯ: พรีเมี่ยม เอ็กซ์เพรส.
มลิวัลย์ ธรรมแสง. (มปป). คนหูหนวก:ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและระบบวิธีสอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
เมธี ไพรชิต. (2556). การหาปัจจัยที่มีผลต่อการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฎิบัติงานของพนักงานกรณีศึกษา :บริษัท สุธานี จำกัด. (สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี).
รัตนา ดวงแก้ว, กุลชลี จงเจริญและชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2560) การวิจัยติดตามผลการดำเนินการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ. Veridian E-Journal, Silpakorn
University. 10(1), 90-110
ลำเทียน เผ้าอาจ. (2559). การทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูในโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอเมืองตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. (งานนิพนธ์สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์,
มหาวิทยาลัยบูรพา).
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2548). คู่มือสื่อสารเรื่องสุขภาพด้วยภาษามือไทย. กรุงเทพฯ:บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกัด.
สายทิพย์ ปิ่นเจริญ. (2558). ปัญหาอุปสรรคในการสื่อสารระหว่างคนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมายกับพนักงานสอบสวน:กรณีศึกษาสถานีตำรวจในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรม,,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2562 สืบค้นจาก https://www.obec.go.th /wp-
content/uploads/2018/10/ OBECPolicy 62.pdf
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานราชกิจจานุเบกษา. (2560). กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: บริษัท ไฮเอ็ดพิมพ์ลิชชิ่ง จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). แนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะหลักที่จำเป็นต่อชีวิต.วารสารการศึกษาไทย. 15(147), 7-8.
โสภณ ชัยวัฒนกุลวานิช. (2560). การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน. รายงานการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 2 (หน้า85-93).
มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
เอกชัย ค้าผล. (2558). การบริหารระบบคุณภาพที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. (วิทยานิพนธ์สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
อังคณา พลังกูร. (2541). ผลการทดลองใช้กิจกรรมเขียนภาพพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์สาขาจิตวิทยาการแนะแนว,
มหาวิทยาลัยบูรพา).
Ananiadou, K., & Claro, M. (2009). 21st Century Skills and Competences for New Millennium Learners in OECD Countries. OECD Education Working Papers, No. 41. Paris: OECD Publishing.
Andrews, J. (2012). Digital Books and Signing Deaf Readers. (last accessed 03/12/2018). Available from http://www.lifted-up.org/jdet/ Andrews2.pdf.
Angelina T.G. Laurent. (2014). An analysis of the Problem-solving skills of children who are deaf or hard of hearing. Washington University School of Medicine in St. Louis
Griffin, Patrick, McGaw, Barry, Care, Esther (Eds.). (2012). Assessment and Teaching of 21st Century Skills.
Springer Netherlands Publisher.International Labour Organization. (2550). การเข้าร่วมในสังคมของคนพิการในประเทศไทย. ILO Skill and Employability Department.
Jacques Delors. (1996). Education for Tomorrow. Paris: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization.
Margaret Harris. (2015). The Impact of New Technologies on the Literacy Attainment of Deaf Children. Top Lang Disorders. 35(2), 120-132
Raja Roy Singh. (1991). Education for the twenty-first century: Asia-Pacific perspectives Bangkok: UNESCO Principal Regional Office for Asia and the Pacific.
SEAMEO INNOTECH. (nd). Graphics adapted from “Four Pillars of an Effective Sales Service (2011).". (last accessed 03/12/2018). Available from
http://iflex.innotech.org /GURO21 /module1/l1_20.html.
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (มปป). ทักษะแห่งศตวรรษที่21 เพื่อการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธัญวลัย จารุเฉลิมรัตน์. (2553). การสร้างความตระหนักในสิทธิและโอกาสทางสังคมของคนพิการทางร่างกายและการเคลื่อนไหว. (วิทยานิพนธ์ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
ปกรณ์กิตติ์ ม่วงประสิทธิ์. (2560). รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อการมีงานทำของคนพิการทางการได้ยิน. MFU Connexion: Journal of Humanities and Social Sciences. 5(2), 156-177
พิไลรัตน์ ทองอุไรและเหม มณีมั่งคั่ง. (2551). การพัฒนาการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินโดยประยุกต์ใช้หลักศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่น (รายงานการวิจัย).คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์.
ไพฑูรย์ สินลารัตน. (2557). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: ต้องก้าวให้พ้นกับดักของตะวันตก. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
มยุรี ผิวสุวรรณ, ดารณี สุวพันธ์, วิไลภรณ์ โครตบึงแก, Karen Heinicke-Motsch, Bamey Mcglade และปิยมาส อุมัษเฐียร. (2556). CBR Guidelines ขององค์การอนามัยโลก ฉบับภาษาไทย (Community Based
Rehabilitation). กรุงเทพฯ: พรีเมี่ยม เอ็กซ์เพรส.
มลิวัลย์ ธรรมแสง. (มปป). คนหูหนวก:ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและระบบวิธีสอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
เมธี ไพรชิต. (2556). การหาปัจจัยที่มีผลต่อการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฎิบัติงานของพนักงานกรณีศึกษา :บริษัท สุธานี จำกัด. (สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี).
รัตนา ดวงแก้ว, กุลชลี จงเจริญและชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2560) การวิจัยติดตามผลการดำเนินการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ. Veridian E-Journal, Silpakorn
University. 10(1), 90-110
ลำเทียน เผ้าอาจ. (2559). การทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูในโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอเมืองตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. (งานนิพนธ์สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์,
มหาวิทยาลัยบูรพา).
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2548). คู่มือสื่อสารเรื่องสุขภาพด้วยภาษามือไทย. กรุงเทพฯ:บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกัด.
สายทิพย์ ปิ่นเจริญ. (2558). ปัญหาอุปสรรคในการสื่อสารระหว่างคนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมายกับพนักงานสอบสวน:กรณีศึกษาสถานีตำรวจในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรม,,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562. สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2562 สืบค้นจาก https://www.obec.go.th /wp-
content/uploads/2018/10/ OBECPolicy 62.pdf
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานราชกิจจานุเบกษา. (2560). กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: บริษัท ไฮเอ็ดพิมพ์ลิชชิ่ง จำกัด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). แนวทางการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะหลักที่จำเป็นต่อชีวิต.วารสารการศึกษาไทย. 15(147), 7-8.
โสภณ ชัยวัฒนกุลวานิช. (2560). การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน. รายงานการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 2 (หน้า85-93).
มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
เอกชัย ค้าผล. (2558). การบริหารระบบคุณภาพที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. (วิทยานิพนธ์สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
อังคณา พลังกูร. (2541). ผลการทดลองใช้กิจกรรมเขียนภาพพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์สาขาจิตวิทยาการแนะแนว,
มหาวิทยาลัยบูรพา).
Ananiadou, K., & Claro, M. (2009). 21st Century Skills and Competences for New Millennium Learners in OECD Countries. OECD Education Working Papers, No. 41. Paris: OECD Publishing.
Andrews, J. (2012). Digital Books and Signing Deaf Readers. (last accessed 03/12/2018). Available from http://www.lifted-up.org/jdet/ Andrews2.pdf.
Angelina T.G. Laurent. (2014). An analysis of the Problem-solving skills of children who are deaf or hard of hearing. Washington University School of Medicine in St. Louis
Griffin, Patrick, McGaw, Barry, Care, Esther (Eds.). (2012). Assessment and Teaching of 21st Century Skills.
Springer Netherlands Publisher.International Labour Organization. (2550). การเข้าร่วมในสังคมของคนพิการในประเทศไทย. ILO Skill and Employability Department.
Jacques Delors. (1996). Education for Tomorrow. Paris: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization.
Margaret Harris. (2015). The Impact of New Technologies on the Literacy Attainment of Deaf Children. Top Lang Disorders. 35(2), 120-132
Raja Roy Singh. (1991). Education for the twenty-first century: Asia-Pacific perspectives Bangkok: UNESCO Principal Regional Office for Asia and the Pacific.
SEAMEO INNOTECH. (nd). Graphics adapted from “Four Pillars of an Effective Sales Service (2011).". (last accessed 03/12/2018). Available from
http://iflex.innotech.org /GURO21 /module1/l1_20.html.