THE EFFECTS OF ACTIVE LEARNING WITH COACHING TOWARDS KNOWLEDGE AND INSTRUCTIONAL MEDIA PRODUCTION ABILITY FOR INCLUSIVE CLASS OF EDUCATIONAL TECHNOLOGY UNDERGRADUATES
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to: 1) compare the knowledge of instructional media production for inclusive class of educational technology undergraduates before and after learning by using active learning with coaching; 2) compare the instructional media production ability for inclusive class of educational technology undergraduates after learning by using active learning with coaching to the set criterion; and 3) compare the Grade 5 students’ learning achievement after learning through the created instructional media with set criterion. The samples of the study were 26 educational technology undergraduates at Nakhon Pathom Rajabhat University, selected by cluster random sampling technique. The research instruments were: 1) lesson plans based on active learning with coaching in Media and Innovation for Disabled Learners, 2) an achievement test on knowledge of instructional media production for inclusive class, 3) an evaluation form of instructional media production abilities for inclusive class, and 4) an achievement test of Thai Language. The data were statistically analyzed by using percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test.
The results of the study were as follows:
- The knowledge of instructional media production for inclusive class of educational technology undergraduates after learning by using active learning with coaching was significantly higher than that of before and of the set criterion of 70% at .05 level significance.
- The instructional media production abilities for inclusive class of educational technology undergraduates after learning by using active learning with coaching was significantly higher than the set criterion of 70 % at .05 level significance.
- The Thai learning achievement in the topic of nouns of students in an inclusive class after learning through the created instructional media was higher than the set criterion of 70%.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
เนื้อหาของแต่ละบทความเป็นทัศนะของผู้เขียน ซึ่งที่ปรึกษา บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะกรรมการบริหารวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
References
กมล โพธิเย็น. (2563). จิตวิทยาการเรียนรู้. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กานตพงศ์ จันทร์ทอง และศรีสมร พุ่มสะอาด. (2563, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์สาระประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปาร่วมกับการโค้ช. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 10 (2), 24-31.
จินตหรา พงศ์พิพัฒน์. (2562). หน่วยที่ 5 สื่อ เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการดูแลปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เจษฎา บุญมาโฮม. (2564). มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู: จิตวิทยาสัมพันธภาพเชิงกระบวนทัศน์. นครปฐม: สไมล์ พริ้นติ้ง & กราฟิกดีไซน์.
ชุฏิภัคศ์ เขมวิมุตติวงศ์. (2560, มกราคม-มิถุนายน). การวิจัยเชิงกรณีศึกษา: การพัฒนานักศึกษาโดยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองในการผลิตสื่อแอนิเมชั่นเพื่อการเรียนรู้. วารสารบัณฑิตวิจัย, 8 (1), 83-97.
ณัฏฐนิธ กาลพัฒน์, สุวิทย์ ภาณุจารี และวีระวัฒน์ พัฒนกุลชัย. (2565, พฤษภาคม–สิงหาคม). การพัฒนาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ด้วยทักษะการโค้ช. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 6 (2), 580-595.
ดนยา อินจำปา และคณะ. (2561). การศึกษาพิเศษ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.
ธนวัฒน์ ศรีไพโรจน์. (2561). อิทธิพลของโปรแกรมการโค้ชการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานที่มีสมรรถนะของครูผู้สอนเพื่อทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมของผู้เรียน. ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นฤมล วัลย์ศรี และศรีสมร พุ่มสะอาด. (2563, มกราคม-มิถุนายน). การศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องคำบุพบทในประโยคโดยจัดกิจกรรมเชิงรุกร่วมกับเทคนิคการโค้ช. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท), 26 (1), 13-21.
นิภาพร กุลสมบูรณ์ และสุวิมล ว่องวาณิช. (2565, พฤษภาคม-สิงหาคม). Active learning: จากความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน สู่ปรัชญาและทฤษฎีรากฐาน ตั้งทิศให้ถูกเพื่อไม่ทิ้งครูให้หลงทางอีกต่อไป. วารสารครุสภาวิทยาจารย์, 3 (2), 1-17.
พลรพี ทุมมาพันธ์. (2565). การศึกษาเพื่อสุขภาวะของเด็ก (ไม่)พิเศษ. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัชรี จิ๋วพัฒนกุล. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการศึกษาแบบเรียนรวม. สงขลา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
มารีนา ศรีวรรณยศ และคณะ. (2563, มีนาคม-เมษายน). การศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนรวมในโรงเรียนเรียนรวมระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารรัชต์ภาคย์, 14 (33), 1-12.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). วิธีวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 8). นครปฐม: ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ยุวดี วิริยางกูร และคณะ. (2564). การจัดการเรียนรวม. เชียงใหม่: สมาคมครูการศึกษาพิเศษไทย.
วไลพร เมฆไตรรัตน์. (2562, กรกฎาคม-ธันวาคม). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์และความสามารถในการแสวงหาความรู้ของนักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 9 (2), 137-151.
วารินท์พร ฟันเฟื่องฟู. (2562, มกราคม-เมษายน). การจัดการเรียนรู้ Active Learning ให้สำเร็จ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 9 (1), 135-145.
ศศิธร อินตุ่น. (2561, กรกฎาคม-กันยายน). ผลของการโค้ชต่อความรู้และความสามารถในการทำวิจัย
ในชั้นเรียนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20 (3), 196-209.
สุธิดา หอวัฒนกุล และบังอร ต้นปาน. (2549). พื้นฐานการศึกษาและการศึกษาแบบเรียนรวม. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
เสาวนีย์ คูณทา และจิตณรงค์ เอี่ยมสำอางค์. (2562, มกราคม-มิถุนายน). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการโค้ชเพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างเว็บไซต์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 11 (1), 366-381.
อารีย์รัตน์ โนนสุวรรณ. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้วยแนวทางการเรียนรู้เชิงรุกและการกำกับตนเองเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับนักศึกษาครูสาขาวิชาภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2553). หลักการสอน (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
Gifkins, J. (2015). What is ‘Active Learning’ and Why is it important. Retrieved 24 September 2022, from https://www.e-ir.info/2015/10/08/what-is-active-learning-and-why-is-it-important/
Hass, S. A. (1992, September). Coaching: Developing. Journal of Nursing Administration, 22 (6), 54-58.
Kise, J. A. G. (2017). Differentiated coaching: A framework for helping educators change (2nd ed.). New Delhi: Sage Publications Asia-Pacific.
Knight, J. (2009). Coaching: Approaches and perspectives. California: Corwin Press.
Michael, J. A. & Modell, H. l. (2003). Active learning in secondary and college science classrooms: A working model for helping the learner to learn. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.
Mukherjee, S. (2014). Corporate coaching: The essential guide. New Delhi: Sage Publications.
Salavert, R. (2015, January). An apprenticeship approach for the 21st century. International Journal of Education Leadership and Management, 3 (1), 24-59.