USING OF NUTRITION MEDIA KITS TO DEVELOP NUTRITION KNOWLEDGE AND ABILITY TO CREATE AND USE NUTRITION MEDIA KITS OF EARLY CHILDHOOD TEACHERS IN THE WEST CENTRAL REGION OF THAILAND

Main Article Content

แก้วตา ริวเชี่ยวโชติ Kaewta Rewchaiochot
จุติกาญจน์ สังข์ยิ้ม Jutikarn Sungyim
ธนัชพร มุลิกะบุตร Thanachaporn Mulikabud

Abstract

This research aimed to: 1) compare the nutrition knowledge of early childhood teachers in the west central region of Thailand before and after using the nutrition media kits; and 2) study the ability to create and use nutrition media kits of early childhood teachers in the west central region of Thailand. The sample, derived by purposive sampling, consisted of 29 early childhood teachers under the supervision of local government organizations in the west central region of Thailand. The research instruments were: 1) nutrition media kits for early childhood teachers, 2) a nutrition knowledge test for early childhood teachers, and 3) an assessment form for the ability to create and use nutrition media kits. Data were analyzed with mean, standard deviation, and t-test for dependent samples.


The results of this research were as follows. 1) the nutrition knowledge of early childhood teachers in the west central region of Thailand after using the nutrition media kits was higher than that of before with statistical significance at .01; 2) the overall ability to create and use nutrition media kits of early childhood teachers was at a very good level. When considering each aspect, the aspects with a very good level were content and overall usage and benefits of the media, followed by teacher aspect which is evaluated at a good level.

Article Details

Section
Research Article

References

กรมอนามัย. (2556). อาหารและโภชนาการในชุมชน. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
จีระพันธุ์ พูลพัฒน์. (2554). การสอนแบบมอนเตสซอรี่: จากทฤษฎีสู่แนวทางนำไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
นิติธร ปิลวาสน์. (2557). สอนลูกเรื่องการบริโภคอาหาร. ค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2561, จาก http://taamkru.com/th/
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
มัณฑนี แสงพุ่ม. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้ปกครองมุสลิมในการส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2558). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วิราณี สุขทรัพย์ และคณะ. (2562). การพัฒนาชุดกิจกรรม ส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เรื่องการจัดประเภทและเรื่องเซตของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนทรงวิทย์ศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 “สังคมผู้สูงวัย: โอกาสและความท้าทายของอุดมศึกษา” (30 มีนาคม หน้า 538-546). นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.
สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน. (2557). คู่มือมหัศจรรย์สื่อสร้างสรรค์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. ค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2561, จาก https://www.healthymediahub.com/
สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ และคณะ. (2560). การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. วารสารสภาการพยาบาล, 32 (4), 108-120.
สุขุม เฉลยทรัพย์. (2555). รายงานวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการอาหารสำหรับเด็กปฐมวัยของสถานศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). บทวิเคราะห์สถานภาพการพัฒนาครูทั้งระบบและข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาครูเพื่อคุณภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
อารีย์ นิยมทรัพย์. (2552). บทบาทของครูในการส่งเสริมโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียนในโรงเรียนเอกชน กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.