โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับงาน และความพึงพอใจในงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของงานของพนักงาน ร้านสะดวกซื้อ
คำสำคัญ:
ความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับงาน, ความพึงพอใจในงาน, ประสิทธิผลของงาน, ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือศึกษาความสอดคล้องระหว่างคนกับงาน ความพึงพอใจในงาน และประสิทธิผลของงานของพนักงานร้านสะดวกซื้อ และศึกษาอิทธิพลของความสอดคล้องระหว่างคนกับงานที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของงานโดยมีตัวแปรความพึงพอใจในงานเป็นตัวแปรคั่นกลาง ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากพนักงานร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 200 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ยอยู่ที่ 26.32 ปี อายุต่ำสุดคือ 19 ปี และอายุสูงสุดคือ 45 ปี ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษา คือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนอยู่ที่ 10,000-20,000 บาท ในการทดสอบสมมติฐานพบว่าความสอดคล้องระหว่างคนกับงานมีอิทธิพลทางตรงกับความพึงพอใจในงานโดยมีสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.84 และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อประสิทธิผลของาน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.50 ส่วนความพึงพอใจในงานมีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของงานโดยมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลเท่ากับ 0.59
References
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 3 ed.). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นัทพร ศรีบุญรอด. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานและผลการปฏิบัติงานโดยมีการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การเป็นตัวแปรสื่อ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประสิทธิ์พร เก่งทอง. (2557). ตัวแบบความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสภาพแวดล้อมองค์การต่อผลลัพธ์การทำงานของพนักงานปฏิบัติการงานส่วนหน้าของโรงแรมในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารสุทธิปริทัศน์, 6(1), 51-69.
อลงกรณ์ มีสุทธา และสมิต สัชฌุกร. (2539). คุณภาพการประเมินประสิทธิผลของงานแนวความคิด หลักการ วิธีการ กระบวนการ. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
Amarneh, S., Raza, A., Matloob, S., Alharbi, R. K., & Abbasi, M. A. (2021). The Influence of Person-Environment Fit on the Turnover Intention of Nurses in Jordan: The Moderating Effect of Psychological Empowerment. Nursing Research and Practice, 2021, 6688603.
Andela, M. & van der Doef, M. (2019). A Comprehensive Assessment of the Person–Environment Fit Dimensions and Their Relationships With Work-Related Outcomes. Journal of Career Development, 46(5), 567-582.
Blum, M. L. & Naylor, J. C. (1968). Industrial Psychology. New York : Hapers Row Publishers.
Bovee, C. L., Thill, J. V., Wood, M. B., & Dovel, G. P. (1993). Management, New York : McGraw-Hill Inc.
Chhabra, B. (2015). Person-Job Fit: Mediating Role of Job Satisfaction & Organizational Commitment. Indian journal of industrial relations, 50, 638-651.
Edwards, J. R. (1996). An examination of competing versions of the person–environment fit approach to stress. Academy of Management Journal, 39(2), 292–339
Hochwarter, W. A., Kacmar, C., Perrewé, P. L., & Johnson, D. (2003). Perceived organizational support as a mediator of the relationship between politics perceptions and work outcomes. Journal of Vocational Behavior, 63(3), 438–456.
Huang, W., Yuan, C., & Li, M. (2019). Person–Job Fit and Innovation Behavior: Roles of Job Involvement and Career Commitment. Frontiers in Psychology, 10(1134), 1-10.
Joreskog, K. G. & Sorbom, D. (1996). “LISREL 8 : user’s reference guide”, Scientific Software International, 121-122.
Judge, T., Thoresen, C., Bono, J., & Patton, G. (2001). The Job Satisfaction–Job Performance Relationship. Psychological bulletin, 127, 376-407.
Kline, R. (2005). Principles and practices of structural equation modeling (2n ed.). New York : Guilford Press.
Lawler, E.E. (1995). Foundations of Job Satisfaction. In Staw, B.M. (ed.), Psychological Dimensions of Organizational Behavior, 2nd edition. Englewood Cliffs, NJ : Prentice Hall, Inc.
Li, M., Pérez-Díaz, P. A., Mao, Y., & Petrides, K. V. (2018). A Multilevel Model of Teachers’ Job Performance: Understanding the Effects of Trait Emotional Intelligence, Job Satisfaction, and Organizational Trust. Frontiers in Psychology, 9(2420), 1-13.
Pavalache-Ilie, M. (2014). Organizational Citizenship Behaviour, Work Satisfaction and Employees’ Personality. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 127(2014), 489-493.
Peng, Y. & Mao, C. (2014). The Impact of Person–Job Fit on Job Satisfaction: The Mediator Role of Self Efficacy. Social Indicators Research, 121, 805-813.
Tabachnick, B. G. & Fidell, L. S. (2007). Using Multivariate Statistics. New York : Pearson.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการบัญชีและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว