อิทธิพลของทุนทางปัญญา ความได้เปรียบทางการแข่งขัน ต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
คำสำคัญ:
ทุนทางปัญญา, ความได้เปรียบทางการแข่งขัน, ผลการดำเนินงานบทคัดย่อ
การศึกษามีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทดสอบอิทธิพลของทุนทางปัญญาต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เพื่อทดสอบอิทธิพลของทุนทางปัญญาต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3) เพื่อทดสอบความได้เปรียบทางการแข่งขันต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4) เพื่อทดสอบอิทธิพลของทุนทางปัญญาต่อผลการดำเนินงาน โดยผ่านความได้เปรียบทางการแข่งขันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลในปี พ.ศ. 2565 จากงบการเงินของบริษัท แบบรายงาน 56-1 และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมจำนวนตัวอย่างทั้งสิ้น 634 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เช่น ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่ามัธยฐาน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)
ผลการศึกษาพบว่า ทุนทางปัญญามีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงาน ผ่านความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งผลที่ได้เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้สอดคล้องกับการศึกษาในอดีต พบว่า การพัฒนาด้าน ทุนทางปัญญาซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนแต่สามารถสร้างมูลค่าให้แก่องค์กรได้ โดยจัดให้มีการอบรมให้แก่บุคลากรในองค์กรตลอดจนการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่และนวัตกรรมต่าง ๆ ที่จะนำไปสู่การสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้า และช่วยให้องค์กรสามารถดึงดูดนักลงทุนให้มาลงทุน ส่งผลให้องค์กรเกิดความได้เปรียบทางการแข่งขันและมีผลการดำเนินงานที่ดีในระยะยาว
References
กนกวรรณ สัมฤทธิ์. (2564). ทฤษฎีทุนมนุษย์และทฤษฎีสองปัจจัย กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานกรณีศึกษา บริษัทจำหน่ายอุปกรณ์ติดตามรถยนต์. สารนิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กรธวัฒน์ สกลคฤหเดช, สุกิจ ขอเชื้อกลาง, และลภัสรดา จ่างแก้ว. (2560). โมเดลความสัมพันธ์เชิง โครงสร้างของความสามารถเชิงพลวัตความได้เปรียบทางการแข่งขันและความสำเร็จของ ธุรกิจในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย. Journal of Business, Innovation and Sustainability (JBIS), 12(1), 32-44.
กัลย์ ปิ่นเกษร เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน และจิราวรรณ คงคล้าย. (2560). ทุนมนุษย์: ตัวชี้วัดทุนมนุษย์ระดับองค์การ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 11(2), 193-202.
กิตติมา ทางนที พร้อมพร ภูวดิน สุมาลี เอกพล และคุณากร ไวยวุฒิ. (2565). ทุนทางปัญญากับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 11(2), 105-118.
กุลชลี พวงเพ็ชร์. (2565). การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและทุนทางวัฒนธรรมของชุมชนไทยพวน ถนนใหญ่ จังหวัดลพบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 41(6), 49-65.
แก้วตา ผิวพรรณ, และปวิตรา โคบำรุง (2565). การวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีอิทธิต่อแนวทางการพัฒนาการทุนทางเศรษฐกิจท้องถิ่นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่างประเทศไทย. วารสารบัณฑิตแสงโคมคำ, 8(2), 260-281.
จุลสุชาดา ศิริสม อุษณา แจ้งคล้อย และมลิจันทร์ ทองคำ. (2560). คุณค่าของการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับทุนทางปัญญาที่มีต่อนักลงทุน: กรณีบริษัทในดัชนี SET 100. วารสารการบัญชีและการจัดการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 9(3), 157-174.
ชลนันท์ พันธ์พานิช ประยงค์ มีใจซื่อ วิรัช สงวนวงศ์วาน และนรพล จินันท์เดช. (2562). ผล กระทบของทุนทางปัญญาต่อผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ใช้ เทคโนโลยีทางการเงินในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. Journal of Business Administration and Languages (JBAL), 7(2), 50-60.
ชลิต ผลอินทร์หอม และไกรวิทย์ หลีกภัย (2562). โมเดลการพัฒนาทักษะด้านอาชีพและทักษะด้านสารสนเทศทางการบัญชีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในยุคดิจิทัล 4.0 ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 18(1), 585-597.
ณัฐพันธ์ ปัญญโรจน์, วิชญานัน รัตนวิบูลย์สม และมาร์ฎา ชยทัตโต. (2566). ความได้เปรียบทางการ แข่งขันที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจเครื่องเงินในประเทศไทย. วารสารรัชต์ภาคย์, 17(54), 109-124.
ดารารัตน์ โพธิ์ประจักษ์, ชนาเมธ น้อยอ่าง, และอุภาวดี เนื่องวรรณะ. (2566). การสังเคราะห์โมเดล สมการโครงสร้างการเปิดเผยข้อมูลการพัฒนาที่ยั่งยืนที่ส่งผลต่อมูลค่ากิจการผ่านความ เข้มแข็งทางการเงินของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มเกษตร และอุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มบริการและกลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค ภายใต้วิกฤตการณ์การ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารนวัตกรรมธุรกิจการจัดการและ สังคมศาสตร์, 4(1), 42-59.
ดารารัตน์ สุขแก้ว. (2561). คะแนนการประเมินการกำกับดูแลกิจการและการส่งสัญญาณเกี่ยวกับ นโยบายเงินปันผลในการลดปัญหาตัวแทน. วารสารเศรษฐกิจธรรมศาสตร์, 36(1), 32-44.
ธเนศ อุ่นปรีชาวณิชย์. (2566). ผลการดำเนินงานของบริษัทกับการบริหารผลการดำเนินงานอย่างยั่งยืน:อิทธิพลตัวแปรส่งผ่านด้านความไว้วางใจของนักลงทุนที่มีต่อบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 10(1), 135-149.
ธัญนันท์ บุญอยู่. (2561). อิทธิพลคั่นกลางของทุนโครงสร้างและการเป็นผู้ประกอบการในการถ่ายทอดทุนเชิงความสัมพันธ์สู่ผลิตภาพสำหรับอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(1), 41-53.
ธีรยุทธ พิริยะอารยะกูล, ณัฐพล อนันต์ธนสาร, และชยุตม์ ภิรมย์สมบัติ. (2566). อิทธิพลพัฒนาการการลดความสิ้นเปลืองในการใช้จ่ายภาครัฐที่มีต่อพัฒนาการความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาระหว่างมหาวิทยาลัยและภาคอุตสาหกรรมและคุณภาพระบบการศึกษา:การวิเคราะห์โมเดลโค้พัฒนาการคู่ขนาน. Journal of Educational Measurement Mahasarakham University, 29(1), 67-83.
นิรุษา ศิริวริษกุล. (2560). ผลกระทบของความได้เปรียบจากทรัพยากรที่จับต้องไม่ได้ต่อความ สัมพันธ์ระหว่างทุนความสัมพันธ์และคุณค่าของลูกค้าของอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศไทย. Modern Management Journal, 15(2), 29-36.
นิสดาร์ก เวชยานนท์. (2551). ทุนมนุษย์ : ตัวชี้วัดทุนมนุษย์ระดับองค์การ. ค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2560, จาก https://so02.tcithaijo.org/index.php/JournalGradVRU/article/download/97773/7616.
ปาณมน จันทบุตร และสุนีย์รัตน์ วุฒิจินดานนท์. (2563) คำจำกัดความ การแบ่งหมวดหมู่ การวัดและการรายงานทุนทางปัญญา: การทบทวนวรรณกรรม. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 37(2), 165-194.
เปขณางค์ ยอดมณี. (2566). ความผูกพันในงานของพนักงานที่ปฏิบัติงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทยระหว่างการปฏิบัติงานที่บ้านในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences, 6(2), 558-569.
ผกามาศ บุตรสาลี, และฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2564). ทุนทางปัญญาเครื่องมือวัดมูลค่ากิจการ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์, 12(1), 127-141.
พรลักษมิ์ พลเดช. (2563). การกำกับดูแลกิจการทุนทางปัญญาและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Doctoral dissertation, Maejo University). 24, 225-229. ค้นเมื่อ 19 เมษายน 2561, จาก from http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1156.
พร้อมพร ภูวดิน, สุมาลี เอกพล, สุนิษา ธงจันทร์, สมเกียรติ์ ฉายพระพักตร์ และ คุณากร ไวยวุฒิ. (2567). ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางปัญญา ประสิทธิภาพการดำเนินงานและการเติบโตที่ยั่งยืนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 20(66), 99-121.
พัทธ์ธีรา จิรอุดมสาโรจน์, พัทธนันท์ เพชรเชิดชู, และศิริเดช คำสุพรหม. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางปัญญา กับมูลค่ากิจการตามราคาตลาด. วารสารสุทธิปริทัศน์, 34(110), 128-144.
พิชญา เทียนภู่, และวัชระ เวชประสิทธิ์. (2565). กลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการตลาดน้ำชุมชน ในเขตภาคกลางของประเทศไทย. Valaya Alongkorn Review, 12(1), 162-177.
ยศธร ทวีพล. (2566). มุมมองทางทฤษฎีและกรณีศึกษากรอบแนวคิดเครือข่ายพันธมิตร นโยบายในนโยบายสาธารณะ. วารสารวิจัยวิชาการ, 6(5), 395-408.
รัตนา ศรีนวน. (2020). การตลาดภายในองค์กรที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจสำนักงานบัญชี. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 12(3), 39-48.
วรลักษณ์ ลลิตศศิวิมล (2563). แบบจำลองสมการโครงสร้างการพัฒนาทุนมนุษย์ที่ส่งผลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจเอกชน ในจังหวัดสงขลา. MUT Journal of Business Administration, 13(2), 79-99.
วรีวรรณ เจริญรูป พวงทอง วังราษฎร์ และนภาภรณ์ ทรัพย์กุลมงคล. (2560). ความสัมพันธ์ ระหว่างทุนมนุษย์กับผลการดำเนินงานของกิจการ: กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 9(3), 43-54.
ศิริพร เสาะแสวง. (2560). การศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานการเงินและบัญชีคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร และอนุวัฒน์ ภักดี. (2563). หลักการสำคัญของกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน ค.ศ. 2018. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 2(6), 52-75.
สุพัตรา อภิชัยมงคล, สันนุดีเสลารัตน์และภูมิฐาน รังคกูลนุวัฒน์. (2565). อิทธิพลของการกำกับดูแล กิจการ การเปิดเผยข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมและการเปิดเผยข้อมูลทุนทางปัญญา ต่อมูลค่ากิจการ: หลักฐานจากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารศิลปการจัดการ, 6(4), 1990-2008.
สุพล ดุรงค์วัฒนา. (2549). ตัวแบบและการวิเคราะห์ความถดถอยสำหรับการวิจัยขั้นสูง = Regression models and analysis for advanced research/Regression models and analysis for advanced research สุพล ดุรงค์วัฒนา - [กรุงเทพฯ] : ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, 944 หน้า
อาภรณ์ แกล้วทนงค์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดเผยทุนทางปัญญากับคุณภาพกำไรและ มูลค่าตามราคาตลาดของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกลุ่ม อุตสาหกรรมเทคโนโลยี. Suthiparithat, 32(102), 98-112.
อารยา อึงไพบูลย์กิจ. (2559). ปัจจัยเหตุและผลของขีดความสามารถเชิงพลวัตของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมธุรกิจการขนส่งในประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(3), 349-363
Alkhatib, A. W., & Valeri, M. (2024). Can intellectual capital promote the competitive advantage? Service innovation and big data analytics capabilities in a moderated mediation model. European Journal of Innovation Management, 27(1), 263-289.
Barney, J. B., & Clark, D. N. (2007). Resource-based theory: Creating and sustaining competitive advantage. Oup Oxford.
Barney, J. B., & Wright, P. M. (1997). On becoming a strategic partner: the role of human resources in gaining competitive advantage. Human Resource Management, 37(1), 31-46.
Bayraktaroglu, A. E., Calisir, F., & Baskak, M. (2019). Intellectual capital and firm performance: an extended VAIC model. Journal of intellectual capital
Bayraktaroglu, A.E., Calisir, F. and Baskak, M. (2019). Intellectual capital and firm performance: an extended VAIC model. Journal of Intellectual Capital, 20(3), 406-425
Bontis, N., Keow, W. C. C., & Richardson, S. (2000). Intellectual capital and business performance in Malaysian industries. Journal of intellectual capital, 1(1), 85-100.
Chen, Y. S., & Chang, C. H. (2013). Utilize structural equation modeling (SEM) to explore the influence of corporate environmental ethics: the mediation effect of green human capital. Quality & Quantity, 47, 79-95.
Chung, K. H., & Pruitt, S. W. (1994). A simple approximation of Tobin's q. Financial management, 70-74.
Edvinsson, L., & Malone, M. S. (1997). Intellectual capital. Harper Business.
Edvinsson, L., & Malone, M. S. (1997). Intellectual capital: The proven way to establish your company's real value by finding its hidden brainpower. London: Piatkus.
Gogan, L. M., Duran, D. C., & Draghici, A. (2015). Structural capital-A proposed measurement model. Procedia economics and finance, 23, 1139-1146.
Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (1996). The office of strategy management. Harvard business review, 83(10), 72.
May, G., Barletta, I., Stahl, B., & Taisch, M. (2015). Energy management in production: A novel method to develop key performance indicators for improving energy efficiency. Applied energy, 149, 46-61.
Mehmood, K. K., & Hafeez, M. H. (2017). Companies’ profitability and asset growth within and across ASEAN Khawaja Khalid Mehmood. Paradigms, A Research Journal of Commerce, Economics, and Social Sciences,11(1), 18-25
Michael Litschka, Andreas Markom, Susanne Schunder. (2006). Measuring and analysing intellectual assets: an integrative approach. Journal of Intellectual Capital, 7(2), 160-173.
Midi, H., Sarkar, S. K., & Rana, S. (2010). Collinearity diagnostics of binary logistic regression model. Journal of interdisciplinary mathematics, 13(3), 253-267.
Naumann, E. (1995). Creating customer value: The path to sustainable competitive advantage. (No Title).
Obeidat, U., Obeidat, B., Alrowwad, A., Alshurideh, M., Masadeh, R., & Abuhashesh, M. (2021). The effect of intellectual capital on competitive advantage: The mediating role of innovation. Management Science Letters, 11(4), 1331-1344.
Peteraf, M. A. (1993). The cornerstones of competitive advantage: a resource‐based view. Strategic management journal, 14(3), 179-191.
Porter, M. E., & Millar, V. E. (1985). How information gives you competitive advantage.
Pulic, A. (2000). VAIC™–an accounting tool for IC management. International journal of technology management, 20(5-8), 702-714.
Stewart, T. A. (1997). Intellectual capital. The new wealth of organizations. NY-L., Doubleday/Currency, Copyright.
Sullivan Jr, P. H., & Sullivan Sr, P. H. (2000). Valuing intangibles companies–An intellectual capital approach. Journal of Intellectual capital, 1(4), 328-340.
Susanti, N., Widajatun, V. W., Aji, M. B., & Nugraha, N. M. (2020). Implications of Intellectual Capital Financial Performance and Corporate Values. International Journal of Psychosocial Rehabilitation, 24(07), 6588-6599.
Timothy, K. M. (2011). Strategies Adopted by Mid-level Colleges in Kenya to Cope With Challenges of Globalization: a Case Study of Kenya Institute of Management (Doctoral dissertation, University Of Nairobi).
Wolfe, J., & Sauaia, A. C. A. (2005). The Tobin q as a business game performance indicator. Simulation & Gaming, 36(2), 238-249
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารการบัญชีและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว