ซอฟต์พาวเวอร์มรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต

ผู้แต่ง

  • หิรัญญา กลางนุรักษ์ นักศึกษา, สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • สันติธร ภูริภักดี อาจารย์, สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • มนัสสินี บุญมีศรีสง่า อาจารย์, สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

ซอฟต์พาวเวอร์ , มรดกทางวัฒนธรรม , ภูเก็ต

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต และแนวทางการส่งเสริมซอฟต์พาวเวอร์มรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวของจังหวัดภูเก็ต โดยใช้วิธีวิทยาการวิจัยแบบปรากฎการวิทยา เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมด จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แบบการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้เทคนิคพรรณาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1. มรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ตนั้นมีหลักๆ ด้วยกัน 8 ด้าน ได้แก่ อาหาร ภาพยนตร์ แฟชั่น ศิลปะการต่อสู้ งานเทศกาล ความเชื่อความศรัทธา วัฒนธรรมพื้นบ้าน และ สถาปัตยกรรม 2. แนวทางการสร้างซอฟต์พาวเวอร์มรดกทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ตนั้นต้องมีการบูรณาการ หรือร่วมมือกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางด้านหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนที่จะนำมรดกทางวัฒนธรรมที่มีอยู่ของจังหวัดภูเก็ตมาพัฒนาและผลักดันให้เกิดเป็นซอฟต์พาวเวอร์ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวของภูเก็ต และในขณะเดียวกันก็ต้องมีการอนุรักษ์ รักษา และฟื้นฟูมรดกทางวัฒนธรรมของภูเก็ตส่งต่อให้เยาวชนรุ่นหลัง เพื่อให้เกิดการสืบทอดความรู้ต่อไป

References

กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน. (2566). แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน พ.ศ. 2566 – 2570. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566, จาก : http://www.osmsouth-w.moi.go.th/main/page/28

ฐิตาภา บำรุงศิลป์, รัตนะ ทิพย์สมบัติ,ขัติยาภรณ์ มณีชัย,ชญานี วีระมน,ทิวาทิพย์ บาศรี,อนงค์นาฏ โอมประพันธ์, กชนิภา จันทร์เทศ และ รัชนีกร งีสันเทีย.(2564). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว ชุมชนบ้านวังรี จังหวัดนครนายก. วารสารวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 3(3), 1-14.

ฐิรชญา ชัยเกษม. (2563). อัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงอาหารรูปแบบมรดกวัฒนธรรมมีชีวิตในเขตเมืองเก่าภูเก็ต. ขอนแก่น: คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ชื่อผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์). ชื่อวิทยานิพนธ. ระดับปริญญาของวิทยานิพนธ. ชื่อมหาวิทยาลัย.

ปรีชา ตั้งสุขขีย์ศิริ ณภัทร สําราญราษฎร์ และหงสกุล เมสนุกูล.(2565). แนวทางส่งเสริมการท่องเที่ยวบนพื้นฐานของซอฟต์พาวเวอร์ด้านอาหารพื้นถิ่นจังหวัดสุโขทัย. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 4(2), 78-89.

พรรณี สวนเพลง และคณะ.(2559). การท่องเที่ยวเชิงอาหาร (Gastronomic Tourism) [ออนไลน์]. ค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566, จาก : https://www.mots.go.th/download/article/article_20160801202503.pdf

พฤฒิยาพร มณีรัตน์ และประสพชัย พสุนนท์. (2565). ปัจจัยด้านคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อประสบการณ์ด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหารของนักท่องเที่ยวในชุมชนย่านเมืองเก่าจังหวัดภูเก็ต.วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 667 – 703.

สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย และกรรณิกา สงวนสินธุกุล. (2563). การศึกษาเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารในพื้นที่ที่มีบริบทต่างกัน กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม. วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง, 18(1), 1-18.

สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (2566). ทำความรู้จักกับความหมายที่แท้จริงของ Soft Power.The Knowledge. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2566, จาก : https://www.nstda.or.th/library.

สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2566). ผลักดันส่งเสริมวัฒนธรรมที่มีศักยภาพ 5F. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566, จาก : https://www.nstda.or.th/home/news_post/potential-culture-5f/.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566) . แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2560 – 2564) [ออนไลน์]. ค้นเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566, จาก : https://www.nesdc.go.th/ewt_news.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) [ออนไลน์]. ค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2566, จาก: https://www.nesdc.go.th/ewt_news.

อนันต์ ชูโชติ. (2562). เมืองเก่าภูเก็ต: พัฒนาการจากอุตสาหกรรมเหมืองแร่สู่การท่องเที่ยว. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 2(1), 1-10

Creswell, J. W. (2007). Qualitative inquiry and research design: Choosing among five approaches (2nd Ed.). California : Sage Publications, Inc.

Cohen L. and Manion, L. (1994). Research Method in education. (4th Ed). New York : Routledge.

Gao, S., Huang, S., and Huang, Y.(2009). Rural tourism development in China. International Journal of Tourism Research, 11(5), 439-450.

McClory, J. (2019). The Soft Power 30: A Global Ranking of Soft Power 2019. Portland: Communications and USC Center on Public Diplomacy. 125 pages.

บุคลานุกรม

ตัวแทนภาครัฐ ก (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดภูเก็ต 71 หมู่ 5, ถนนวิชิตสงคราม, ตำบลวิชิต อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต, 83000. เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนภาครัฐ ข (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต 195 ถนนรัตนโกสินทร์ 200 ปี ตำบลตลาดเหนือ อำเภอเมืองภูเก็ต ภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนภาครัฐ ค (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 21 หมู่ที่ 6 ถ. เทพกระษัตรี ตำบล รัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต ภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนสมาคม ก (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต 94 ถ.ทวีวงศ์ ต.ป่าตอง อ.กะทู้ จ.ภูเก็ต 83150. เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนสมาคม ข (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต 94 ถ.ทวีวงศ์ ต.ป่าตอง อ.กะทู้ จ.ภูเก็ต 83150. เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนเครือข่าย ก (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่วิสาหกิจย่านชุมชนเมืองเก่าจังหวัดภูเก็ต 49 ถนนถลาง ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนเครือข่าย ข (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่วิสาหกิจย่านชุมชนเมืองเก่าจังหวัดภูเก็ต 49 ถนนถลาง ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนหมู่บ้านวัฒนธรรมถลางบ้านแขนน ก (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่หมู่บ้านวัฒนธรรมถลางบ้านแขนน หมู่ 2 ตำบลเทพกษัตรี อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต. เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนหมู่บ้านวัฒนธรรมถลางบ้านแขนน ข (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่หมู่บ้านวัฒนธรรมถลางบ้านแขนน หมู่ 2 ตำบลเทพกษัตรี อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต. เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนมิวเซียมภูเก็ต (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). เมืองเก่าจังหวัดภูเก็ต ถนนถลาง ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566.

ตัวแทนสนามมวยบางลาป่าตอง (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ ภูเก็ต 83150. เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566.

นักวิชาการ ก (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 21 หมู่ที่ 6 ถ. เทพกระษัตรี ตำบล รัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต ภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2566.

นักวิชาการ ข (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 21 หมู่ที่ 6 ถ. เทพกระษัตรี ตำบล รัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต ภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2566.

นักวิชาการ ค (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 21 หมู่ที่ 6 ถ. เทพกระษัตรี ตำบล รัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต ภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2566.

นักวิชาการ ง (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต 80 หมู่ที่ 1 ถนน วิชิตสงคราม ตำบล กะทู้ อำเภอกะทู้ ภูเก็ต 83120. เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566.

นักวิชาการ จ (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต 80 หมู่ที่ 1 ถนน วิชิตสงคราม ตำบล กะทู้ อำเภอกะทู้ ภูเก็ต 83120. เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566.

นักวิชาการ ฉ (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). ที่คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ศูนย์ภูเก็ต. วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต อาคารรัษฎา ชั้น 4 อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 8300. เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2566.

ผู้ประกอบการธุรกิจนำเที่ยว ก (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 21 หมู่ที่ 6 ถ. เทพกระษัตรี ตำบล รัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต ภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566.

ผู้ประกอบการธุรกิจนำเที่ยว ข (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 21 หมู่ที่ 6 ถ. เทพกระษัตรี ตำบล รัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต ภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566.

มัคคุเทศก์ ก (ผู้ให้สัมภาษณ์).หิรัญญา กลางนุรักษ์ (ผู้สัมภาษณ์). มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 21 หมู่ที่ 6 ถ. เทพกระษัตรี ตำบล รัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต ภูเก็ต 83000. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566.

เผยแพร่แล้ว

2024-12-20