ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครือหมาน้อย ผ่านแพลตฟอร์ม Facebook
คำสำคัญ:
การตัดสินใจซื้อผ่านแพลตฟอร์มเฟซบุ๊ก , ผลิตภัณฑ์เครือหมาน้อย , ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์จากเครือหมาน้อยผ่านแพลตฟอร์มเฟซบุ๊ก เพื่อศึกษาระดับการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครือหมาน้อย
ผ่านแพลตฟอร์มเฟซบุ๊ก และเพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครือหมาน้อยผ่านแพลตฟอร์มเฟซบุ๊ก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา จำนวน 295 คน ผลการศึกษาพบว่า การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครือหมาน้อยผ่านแพลตฟอร์ม Facebook โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.97, S.D. = 0.20) ซึ่งกลุ่มตัวอย่างให้ระดับความคิดเห็นต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครือหมาน้อยผ่านแพลตฟอร์ม Facebook ด้านการรับรู้ถึงความต้องการหรือปัญหาเป็นอันดับ 1 รองลงมา ได้แก่ ด้านการตัดสินใจซื้อ,ด้านพฤติกรรมภายหลังการซื้อ, ด้านการประเมินทางเลือก และด้านการแสวงหาข้อมูล ตามลำดับ สำหรับการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์กับกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครือหมาน้อยผ่านแพลตฟอร์ม Facebook (Y) พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ จำนวน 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการจัดจำหน่าย 2) ด้านการส่งเสริมการตลาด และ 3) ด้านการให้บริการส่วนบุคคล มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เครือหมาน้อยผ่านแพลตฟอร์ม Facebook (Y) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Sig < 0.05)
References
เอกสารอ้างอิง
จินณวัฒน์ อัศวเรืองชัย, ศักดา นาควัชระ, ทวินานันญ์ พุ่มพิพัฒน์, กันตินันท์ กิจจาการ, เปียทิพย์ กิติราช. (2565). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงการระบาดของไวรัสโควิด-19. วารสารรัชตภาคย์, 16(46), 389-404.
จุรีพร ช้อนใจ. (2563). ปัจจัยที่ส่งต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อน้ำผลไม้พร้อมดื่ม ตรากรีนเมทของผู้บริโภคจังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จำหน่ายเครือหมาน้อย-กรุงเขมา. (ม.ป.ป.). ผู้ติดตามเพจ (Page Profile). Facebook. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2565, จากhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100039873045052&mibextid=ZbWKwL
จำหน่ายเครือหมาน้อย/กรุงเขมา ปลีก-ส่ง. (ม.ป.ป.). ผู้ติดตามเพจ (Page Profile). Facebook. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2565, จาก https://www.facebook.com/profile.php?id=100057652651027&mibextid=ZbWKwL
ทิพย์เกสร เพชรโสภา และวุฒิชาติ สุนทรสมัย. (2565). ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านเฟซบุ๊คของผู้บริโภคชาวลาวในแขวงสะหวันเขต สาธารณรัฐประชาชนลาว. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 11(1), 154-179.
ธนัทเมศร์ ตันติธนินพงศ์ และชิตพงษ์ อัยสานนท์. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการซื้อสินค้าทางสื่อออนไลน์ของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพลายเซน, 8(2), 80-94.
ธมลวรรณ สมพงศ์. (2564). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าทางออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เปรมกมล หงส์ยนต์. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ (ลาซาด้า) ของผู้บริโภคยุคดิจิทัลในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสยาม.
พัชราภรณ์ เมธีการย์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของธุรกิจการจำหน่ายเครื่องสำอางผ่านเฟซบุ๊ก.
การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
พิสณุ ฟองศรี. (2552). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์, 421.
พิไลวรรณ อุบลวรรณ์. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกซื้อเสื้อผ้าผ่านตลาดออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยในจังหวัดนนทบุรี. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.
รังสรรค์ สิงหเลิศ. (2551). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. คณะมนุษย์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
มายออมสิน (My Aomsin). (ม.ป.ป.). ผู้ติดตามเพจ (Page Profile). Facebook. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2563, จาก https://www.facebook.com/YTmyaomsin?mibextid=ZbWKwL
ยุทธนาท บุณยะชัย. (2564). ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ผ่านสมาร์ทโฟนของผู้บริโภค ในจังหวัดนนทบุรี. วารสารสุทธิปริทัศน์, 35(1), 287- 305.
โยษิตา นันทิภาคย์ และคม คัมภิรานนท์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าในร้านค้ามัลติ แบรนด์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ประเภท Instagram ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่นวาย. วารสารรัชต์ภาคย์, 14(36), 130–146.
วรินทร์ลดา พึ่งเถื่อน และแอนนา จุมพลเสถียร. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อต้นไม้ประดับผ่าน Instagram. วารสาร Media and Communication Inquiry, 4(3), 102-121.
วลัยลักษณ์ พันธุรี และหัสชัย ตั้งมั่งมี. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตาก. วารสารวิชาการนอร์ทเทิร์น, 8(1), 81-95.
วลัยลักษณ์ พันธุรี, พิมพ์รภัส เลิศประเสริฐ, แสงอุดม ภุมราเศวต, ขจรอรรถพณ พงศ์วิริทธิ์ธร, สุพจน์ อาวาส. (2565). การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ความงามผ่านช่องทางออนไลน์บนเฟซบุ๊กของธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(6), 69-82.
หงสา ปลาทอง. (2563). ส่วนประสมการตลาดออนไลน์และคุณลักษณะของนวัตกรรม ที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจใช้บริการกระเป๋าเงินออนไลน์ของผู้หญิงวัยทำงาน ในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อัคริยา รณศิริ, พุฒิธร จิรายุส, อรชร อิงคานุวัฒน์. (2564). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดออนไลน์ (6Ps) ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องประดับเงินของผู้บริโภคบนช่องทางเฟซบุ๊ก (เฟซบุ๊ก) ในกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, 5(2), 99-110.
อรุโณทัย ปัญญา. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านสังคมออนไลน์ (เฟซบุ๊ก) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.