ความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อจริยธรรมของผู้ประกอบการ
คำสำคัญ:
ความรับผิดชอบต่อสังคม, จริยธรรม, ผู้ประกอบการบทคัดย่อ
กระแสโลกาภิวัตน์นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคส่งผลให้ผู้ประกอบการธุรกิจจำเป็นต้องมองหาหนทางเพื่อปรับเปลี่ยนให้องค์กรอยู่รอดจากการแสวงหาผลกำไรโดยไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคมที่ส่งผลโดยตรงต่อภาพลักษณ์และความยั่งยืนขององค์กร บทความนี้จึงมุ่งนำเสนอแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมในด้านจริยธรรมทางธุรกิจโดยการนำแนวคิดในเรื่องจริยธรรมมาประยุกต์เข้ากับการดำเนินธุรกิจ เพื่อก่อให้เกิดความศรัทธาสร้างความเชื่อมั่นต่อลูกค้า และรวมไปถึงสาธารณชน โดยการทบทวนวรรณกรรมจากแหล่งต่างๆ อาทิ ตำรา บทความวิชาการ บทความวิจัย เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร และเพื่อศึกษาเชิงประจักษ์ในอนาคต ผลการทบทวนพบว่าตัวแปรเหล่านี้มีความสำคัญโดยตรงต่อความสำเร็จของการประกอบธุรกิจ และเป็นการแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อจริยธรรมของผู้ประกอบการในองค์กรธุรกิจอย่างยั่งยืน
References
ชุดาพร สุวรรณวงษ์. (2556). กลยุทธ์การดำเนินงานของธุรกิจที่พักในเขตอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิตมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทยากร สุวรรณปักษ์. (2556). จริยธรรมทางธุรกิจและผลการดำเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดมุกดาหาร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 46 - 66.
นพรัตน์ ทองเต็มดวง. (2559). ความรับผิดชอบต่อสังคมของรัฐวิสาหกิจไทย : กรณีศึกษาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในภาคใต้ตอนล่าง. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2556). จริยธรรมธุรกิจ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปวริศา จันทร์อุดม และจรัญญา ปานเจริญ. (2562). ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการประกอบธุรกิจออนไลน์: กรณีศึกษาของธุรกิจความงามและสุขภาพ. วารสารสุทธิปริทัศน์, 33(106), 141 - 153.
ปัทมา อินทรจันทร์ และฬุลิยา ธีระธัญศิริกุล. (2562). ปัจจัยแห่งความสำเร็จด้านผู้ประกอบการของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 11(1), 289 - 303.
ประชา เทศพานิช. (2563). แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของผู้ประกอบกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมในประเทศไทยเชิงพุทธบูรณาการ. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์, 16(2), 139 - 153.
พรนพ พุกกะพันธ์. (2554). จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ป. สัมพันธ์พาณิชย์.
พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์. (2555). ตั้งไข่ให้ CSR [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2564, จาก : https://www.pipat.com /2012/05/csr_10.html.
พิภพ วชังเงิน. (2559). จริยธรรมทางธุรกิจ = Business ethics. กรุงเทพฯ : รวมสาสน์.
ภรณี หลาวทอง. (2562). เอกสารประกอบการสอนวิชาจริยธรรมทางธุรกิจ. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
ภัชราพร ช้างแก้ว, ฐิติเมธ โภคชัย, นภาพร ไชยขันแก้ว, สุภัทรา สุขชู. (2558). 8 เซียนหุ้นหมื่นล้านเขาทำได้...คุณก็ทำได้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
มรกต ศิริวัฒนาโรจน์. (2557). การทุจริตในการบริหารโรงพยาบาลภาครัฐของไทย : ศึกษาการบริหารยุทธศาสตร์เพื่อป้องกันการทุจริต. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง, 2(1), 83 - 97.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์. (2558). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของธุรกิจโทรทัศน์ดิจิทัล. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 32(1), 47 - 62.
สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม. (2564). บทนำ CSR [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 17 มีนาคม 2564, จาก : https://www.sdperspectives.com/csr/csr-2564.
สมคิด บางโม. (2558). จริยธรรมทางธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์.
สมทบ แก้วเชื้อ, บัณฑิต ผังนิรันดร์, ธนพล ก่อฐานะ. (2562). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์ในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 15(2), 33 - 44.
หรรษมน เพ็งหมาน. (2559). จริยธรรมทางธุรกิจเพื่อความยั่งยืนของธุรกิจค้าปลีก. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(1), 815 - 828.
อนิวัช แก้วจำนงค์. (2558). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). สงขลา : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.
อนุศาสตร์ สระทองเวียน. (2553). ธุรกิจค้าปลีกประเทศไทย. วารสารนักบริหาร, 30(3), 134 - 142.
อำพล ชะโยมชัย. (2562). การศึกษาเปรียบเทียบตัวแบบผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้ประกอบการฐานชุมชน: การใช้ตัวแบบสมการโครงสร้างในจังหวัดร้อยเอ็ดและเพชรบูรณ์. วารสารสุทธิปริทัศน์, 33(106), 30 - 44.
Amisano, D. (2017). The Relationship Between Ethical Leadership and Sustainability in Small Businesses. Doctoral Dissertation for Doctor of Business Administration. Walden University.
Carroll, A. B. (2016). Carroll’s Pyramid of CSR : Taking Another Look. International Journal of Corporate Social Responsibility, 2016(1 : 3), 1 - 8.
Dahlsrud, A. (2010). How Corporate Social Responsibility is Defined : an Analysis of 37 Definitions. Corporate Social Responsibility and Environmental Management, 15, 1 - 13.
Dion, M. (2012). Are Ethical Theories Relevant for Ethical Leadership?. Leadership & Organization Development Journal, 33(1), 4 - 24.
Doh, J. P., Howton, S. D., Howton, S. W., Siegel, D. S. (2010). Does the Market Respond to an Endorsement of Social Responsibility? The Role of Institutions, Information, and Legitimacy. Journal of Management, 36(6), 1461 - 1485.
Gao, Y. and He, W. (2017). Corporate Social Responsibility and Employee Organizational Citizenship Behavior : The Pivotal Roles of Ethical Leadership and Organizational Justice. Management Decision, 55(2), 294 - 309.
Ginting, G. (2016). Modeling business responsibility of SMEs: A study based on the stakeholder approach. Pertanika Journal of Social Sciences & Humanities, 24(3), 1025 - 1038.
Iszatt-White, M. and Saunders, C. (2014). Leadership. Oxford : Oxford Press.
Mostovicz, I., Kakabadse, N., Kakabadse, A. (2009). CSR : The Role of Leadership in Driving Ethical Outcomes. Corporate Governance International Journal of Business in Society, 9(4), 448 - 460.
Thompson, M. (2017). Truth and Transparency : The Importance of Ethics in Finance [Online]. Retrieved December 16th, 2020, Available : https://www.business.com/articles/are-you-sending-clients-the-wrong-message-when-it-comes-to-ethics.
Zheng, Q., Wang, M., Li, Z. (2011). Rethinking Ethical Leadership, Social Capital and Customer Relationship. Journal of Management Development, 30(7/8), 663 - 674.