พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสาร ความพึงพอใจ และปัจจัยต่อการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของประชากรในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์

ผู้แต่ง

  • ธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • สมชาย ชายสำอางค์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • จุรินทร์ นินแท้ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  • ศราวุธ บูรณะ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

คำสำคัญ:

หนังสือพิมพ์, การเปิดรับข่าวสาร, ความพึงพอใจ

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสาร ความพึงพอใจและปัจจัยต่อการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของประชากร ในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของประชากรในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เพื่อศึกษาปัจจัยต่อการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์ฉบับที่พิมพ์รายวัน ของประชากรในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการอ่านหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของ ประชาชนในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ การศึกษาครั้งนี้โดยผู้วิจัยเลือกใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่มีรูปแบบของการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวบข้อมูลเป็นแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) ผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มตัวอย่างในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 242 คน อายุระหว่าง 25 – 70 ปี เท่านั้น ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของประชากรในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ การอ่านหนังสือพิมพ์มานานเท่าใดพบว่า  กลุ่มตัวอย่างมีระยะเวลาการอ่านหนังสือพิมพ์น้อยกว่า 1 ปี โดย การเปิดรับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของกลุ่มตัวอย่าง ในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ อยู่ในระดับ ปานกลาง ปัจจัยต่อการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของประชากรในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ปัจจัยต่อการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์รายวันของประชากรในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ อยู่ในระดับมาก  ความพึงพอใจในการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของประชากร ในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ความพึงพอใจในการเลือกอ่านหนังสือพิมพ์ฉบับตีพิมพ์รายวันของประชากร ในชุมชนดองกะเม็ด อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์  โดยรวมอยู่ในระดับมาก

References

กาญจนา กาญจนทวี. (2542). แรงจูงใจ พฤติกรรม และความพึงพอใจของผู้อ่านหนังสือพิมพ์ออนไลน์ไทยการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ. สาขาวิชาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน .จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จำเนียร ช่วงโชติ. (2519). จิตวิทยาการรับรู้และการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ดวงรัตน์ นพพันธ์. (2549). การศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ ความพึงพอใจต่อข่าวสาร และการใช้ประโยชน์จากสื่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน.คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนครพนม. ทะเบียนราษฎร์เทศบาลเมืองสุรินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ปี 2558.

ธิดารัตน์ บุญล้อม.(2549).พฤติกรรมและความพึงพอใจการอ่านหนังสือพิมพ์โพสต์ ทูเดย์ ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด บัณทิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

นฤดม สาริกบุตร. (2547). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการนำเสนอข่าวสารของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุบลราชธานี. การคนควาอิสระเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด. (2541). พฤติกรรมการอ่านนิตยสารของคนกรุง.วรสารวิชาการสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย (PUBAT).กรุงเทพฯ

ยุพา สุภากุล. (2534). การสื่อสารมวลชน. เชียงใหม่ คณะมนุษยศาสตรมหาวิทยาลยเชียงใหม่.

มาลี บุญศิริพันธ์ .(2537). หลักการทำหนังสือพิมพ์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ประกายพรึก.

วัลลภ สวัสดิวัลลภ. (2527). คูมืองานเทคนิคและการฝกงานหองสมุด(พิมพครั้งที่ 2). ลพบุรี: ศูนยการพิมพวิทยาลัยครูเทพสตรีลพบุรี.

วาสนา เสตะจันทน์ .(2539). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารจากการอ่านหนังสือพิมพ์ไทยรายวัน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มณี โพธิเสน (2543). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนต่อการจัดการศึกษา ของโรงเรียนโพธิเสนวิทยา อำเภอท่าบ่อ จังหหวัดหนองคาย. การศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษา มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ไศลทิพย์ จารุภูมิ. (2534). การศึกษาความพึงพอใจที่ได้รับจากละครโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สายใจ ระดมสุข (2550) .พฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารเพื่อการศึกษาจากหนังสือพิมพ์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง .มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพื้นฐานการศึกษา สาโรช ไสยสมบัติ. (2534). ความพึงพอใจในการทำงานของครูอาจารย์โรงเรียน มัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ วิโรฒ มหาสารคาม.

สุมิตร โชควิทยา.(2549). การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ วิทยาลัยสารพัดช่างสี่พระยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549.รายงานวิจัย วิทยาลัยสารพัดช่างสี่พระยา.

เสกสรร ธรรมวงศ์. (2541). ความพึงพอใจของนักศึกษาผู้ใหญ่ที่มีต่อการให้บริการด้านการเรียนการสอนสายสามัญระดับประถมศึกษา: ศึกษากรณีโรงเรียนผู้ใหญ่สตรีบางเขน ทัณฑสถานหญิงกลาง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

อุบลวรรณ ปติพัฒนโฆษิต และอวยพร พานิช. (2532). 100 ปนิตยสารไทย พ.ศ. 2431-2531.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, คณะนิเทศศาสตร.

อมรรัตน์ เชาวลิต. (2541). ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตต่อระบบการ จัดบริการ สารสนเทศของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเกริก. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Brown, W.J., R.B. Lewis and Harchleroad. (1964) . A – V Instruction and Meyhods. (2 nd ed.). New York: McGraw-Hill Book.

Gerlach, V.S. and D.P. Ely. (1980). Teaching and Media : A Systematic Approach. New Jersey: Prentice – Hall Inc.

Good, C.V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill, Inc.

Gove, P.B. (1975). Webster’s New International Dictionary. Messachusetts: G&C Merriam Company, Inc.

Laurence, N. (1969). College Dictionary. New York: E.H. Sargent & Co.

Millet, John D. (1954). Management in the public service. New York : McGraw-Hill.

Wolman, B.B. (1973). Dictionary of Behavioral Science. Von Nostrand: Reinhold Company.

Klapper, J. T.1960 . The Effects of Coomunication. New York: Free Press

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-28