“หมู่บ้านโลก” ใน “ตำนานของโลกาภิวัตน์” โดย Peter Alfandary

ผู้แต่ง

  • ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร รองศาสตราจารย์ประจำคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • อรรณพ เยื้องไธสง ผู้ช่วยวิจัยประจำสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

หมู่บ้านโลก, โลกาภิวัตน์, การวิเคราะห์, นักบรรยาย

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการวิเคราะห์การบรรยายของ Peter Alfandary ที่บรรยายหัวข้อเรื่อง  The Myth of Globalisation ซึ่งทำการเผยแพร่ในปี ค.ศ. 2015 ความน่าสนใจของการบรรยายนี้คือให้ความสำคัญกับบริบททางวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่ซึ่งมีอิทธิพลต่อโลกาภิวัตน์และคำว่า “หมู่บ้านโลก” เกิดการเชื่อมโยงโดยภาษา และวัฒนธรรม ผ่านความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างไรก็ตาม การที่มีพื้นฐานทางวัฒนธรรมและภาษาที่แตกต่างกันของมนุษย์ก็อาจสร้างความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนระหว่างกันได้ ซึ่งการบรรยายของ Alfandary ก่อให้เกิดแง่คิดที่สำคัญและนำไปสู่การเตรียมความพร้อมของมนุษย์ต่อไปในอนาคต คือ สถาบันการศึกษาควรจะต้องมีการจัดการเรียนการสอนในทุกระดับเกี่ยวกับความฉลาดด้านวัฒนธรรม โดยมุ่งหวังให้เกิดการเรียนรู้และปรับตัวต่อวัฒนธรรมที่แตกต่าง รวมไปถึงการเคลื่อนย้ายทางวัฒนธรรมที่อาจจะมานำมาซึ่งความขัดแย้งหรือความไม่เข้าใจระหว่างคนที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม

References

จักรี ไชยพินิจ. (2561). โลกาภิวัตน์ โครงสร้างอำนาจโลก และรัฐไทย : สหรัฐอเมริกากับการวางรากฐานองค์ความรู้รัฐประศาสนศาสตร์ไทย. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 10(2), 37 - 72.

แมนเฟร็ด สเตเกอร์. (2553). โลกาภิวัฒน์ : ความรู้ฉบับพกพา. Globalization : A Very Short Introduction, วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง, แปล. กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์ .

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2552). โลกาภิวัตน์ : นโยบายภิวัตน์. ใน ชุดความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะด้านการพัฒนา โลกาภิวัตน์ ท้องถินภิวัตน์ นโยบายภิวัตน์?, ยุวดี คาดการณ์ไกล. กรุงเทพฯ : แปลน พริ้นติ้ง. 23 - 39.

สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี เอชดี ช่อง 36. (2562). รอบโลก BY กรุณา บัวคำศรี | เส้นทางสายไหมใหม่ในศรีลังกา [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2563, จาก : https://www.youtube.com/watch?v=X6Fo4NGBlzM.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2552). ท้องถิ่นภิวัตน์ : นโยบายภิวัตน์. ใน ชุดความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะด้านการพัฒนา โลกาภิวัตน์ ท้องถินภิวัตน์ นโยบายภิวัตน์?, ยุวดี คาดการณ์ไกล. กรุงเทพฯ : แปลน พริ้นติ้ง. 7 - 22.

อารีย์ นัยพินิจ, ภัทรพง์ เกริกสกุล, ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2557). การปรับตัวภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา, 7(1), 1 - 12.

เฮเลนา นอร์เบอร์ก-ฮอดจ์. (2545). โลกาภิวัตน์กับชุมชนที่ยั่งยืน : บทเรียนแห่งดาลักและทางเลือกใหม่อันหลากหลายจากทั่วโลก. ใน การปาฐกถา. เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว และไพโรจน์ ภูมิประดิษฐ์, แปล. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.

Archibugi, D. and Iammarino, S. (1999). The Policy Implications of the Globalisation of Innovation. Research Policy, 28(2 - 3), 317 – 336.

Hismanoglu, M. (2012). The Impact of Globalization and Information Technology on Language Education Policy in Turkey. Procedia : Social and Behavioral Sciences, 31(2012). 629 – 633.

Little, A. W. and Green, A. (2009). Successful Globalisation, Education and Sustainable Development. International Journal of Educational Development, 29(2009), 166 – 174.

Nissanke, M. and Thorbecke, E. (2006). Channels and Policy Debate in the Globalization–Inequality–Poverty Nexus. World Development, 34(8), 1338 – 1360.

Peterson, B. (2004). Cultural Intelligence: A Guide to Working with People from Other Cultures. Maine : Intercultural Press.

ReedSmith. (2021). Peter R. Alfandary [Online]. Retrieved January 9th, 2021, Available : https://www.reedsmith.com/en/professionals/a/alfandary-peter-r.

Reiser, O. L. and Davies, B. (1944). Planetary Democracy : an Introduction to Scientific Humanism and Applied Semantics. New York : Creative Age Press.

TEDx Talks . (2015). The Myth of Globalisation | Peter Alfandary | TEDxAix [Online]. Retrieved March 12th, 2020, Available : https://www.youtube.com/watch?v=xUYNB4a8d2U.

Thomas, D. C. and Inkson, K. (2008). Cultural Intelligence : People Skills for Global Business [Online]. Retrieved May 10th, 2020, Available : https://books.google.co.th/books?id=ag6Ciiz9fpUC.

World Health Organization. (2021). WHO Coronavirus Disease (COVID-19) Dashboard [Online]. Retrieved January 10th, 2021, Available : https://covid19.who.int.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-30