ปราสาททนงกับการส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่น

ผู้แต่ง

  • พระวัชระ วชิรญาโณ อาจารย์ประจำสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพระพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • ยโสธารา ศิริภาประภากร อาจารย์พิเศษสาขาวิชาสังคมศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์
  • สุริยา คลังฤทธิ์ นักวิจัยอิสระ ณ บ้านศาลาสามัคคี ตำบลบ้านชบ อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์
  • เกริกวุฒิ กันเที่ยง อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

คำสำคัญ:

ปราสาททนง, การส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น, จังหวัดสุรินทร์

บทคัดย่อ

จุดประสงค์ของบทความนี้เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับปราสาททนงกับการส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่น พบว่า “ปราสาททนง” เป็นโบราณสถานที่สร้างขึ้นในคติทางศาสนาพรามหณ์ ฮินดู โบราณสถานแห่งนี้มีความสำคัญต่อของชุมชนและมีบทบาทต่อวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ในฐานะเป็นโบราณสถานที่ช่วยในการส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่นได้มีการจัดงานประจำปีที่สำคัญ คือ การเซ่นไหว้เทพเจ้า และการจัดกิจกรรมประจำท้องถิ่นมีการรำบูชาปราสาท การจัดกิจกรรมชุมชน เป็นแนวทางในการส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยววัฒนธรรมท้องถิ่น ที่มีประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจชุมชน เช่น การมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนเพื่อจัดกิจกรรมประจำปี จุดพื้นที่ปราสาททนงได้เป็นพื้นที่หนึ่งในการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางด้านวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยชุมชนในพื้นที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนทางศิลปะและวัฒนธรรมและการจัดงานประเพณีบูชาปราสาททนงประจำปี และมีการแสดง แสง สี เสียง จนกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวท้องถิ่นที่สร้างความน่าสนใจของผู้คนทั้งในชุมชนและนอกพื้นที่ ด้วยความสำคัญของปราสาททนงอันเป็นโบราณสถานของชุมชน เป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมท้องถิ่นและจังหวัด ทั้งยังเป็นพื้นที่ในการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมของกลุ่มชาวไทยเชื้อสายเขมร และมีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้มีการท่องเที่ยว ของชุมชนท้องถิ่นแห่งนี้

References

กรมศิลปากร. (2550). ประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งและพับลิชชิ่ง.

ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว. (2556). แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2562, จาก : http://tourism-dan1.blogspot.com.

เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2560). ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ : รูปแบบ พัฒนาการ และความหมาย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี : มิวเซียมเพรส.

พระปลัดสุดฤทธิ์ ธนสาโร และยโสธารา ศิริภาประภากร. (2563). ศาสนากับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อการส่งเสริมเส้นทางแสวงบุญสู่วัดไพรพัฒนา จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิจัยวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุรินทร์, 4(1), 79 - 92.

พระวัชระ วชิรญาโณ. (2561). ปราสาททนง : โบราณสถานแห่งลมหายใจของตำบลปราสาททนง. ใน งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2561, 9 กันยายน 2561. 177 - 182. น่าน : วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ภูมิจิต เรืองเดช. (2542). วรรณกรรมท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์ : เอกสารซีพี.

ยโสธารา ศิริภาประภากร. (2563). รายงานผลการสำรวจปราสาททนง จังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์. 22 หน้า.

ยโสธารา ศิริภาประภากร, กฤษนันท์ แสงมาศ, ทิตยาวดี อินทรางกูร, พระมหาขุนทอง เขมสิริ. (2561). คุณค่าและอิทธิพลของปราสาทขอมที่ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมทั้งสองประเทศ : กรณีปราสาทตาควายตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์. ใน การประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 9 และระดับชาติครั้งที่ 1 ระดับชาติ ในหัวข้อ “วัฒนธรรมเชิงพุทธกับการพัฒนาที่ยั่งยืน”, 2 - 3 เมษายน 2561. 22 – 30. ศรีสะเกษ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ.

ยโสธารา ศิริภาประภากร และสำเริง อินทยุง. (2561). อัตลักษณ์ของปราสาทขอมกับการพัฒนาชุมชนในจังหวัดสุรินทร์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 9”, 29 – 31 สิงหาคม 2561. 452 – 461. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.

ยโสธารา ศิริภาประภากร, สุพัตรา วะยะลุน, ทิตยาวดี อินทรากูร, กฤษนันท์ แสงมาศ, สุริยา คลังฤทธิ์. (2562). จุดยุทธศาสตร์เส้นทางเศรษฐกิจ การเมือง การปกครองระหว่างสองประเทศสู่การบูรณาการ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามเส้นทางอริยธรรมขอมโบราณ อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติศรีโคตรบูนณ์ศึกษา ครั้งที่ 1 “แลสายน้ำโขงกับงานวัฒนธรรมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น”, 2 พฤษภาคม 2562. 635 - 645. นครพนม : มหาวิทยาลัยนครพนม.

ยโสธารา ศิริภาประภากร, พระสำเริง อินทยุง, สุพัตรา วะยะลุน, สุทัศน์ ประทุมแก้ว, สุริยา คลังฤทธิ์. (2562). การส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวตามเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา : กรณีการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้านศาสนา วัดโยธาประสิทธิ์ ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติการท่องเที่ยวและการโรงแรมร่วมสมัย ครั้งที่ 6 “ท่องเที่ยวโรงแรม ร่วมเสริม ร่วมสร้าง ร่วมสมัย”, 6 มิถุนายน 2562. 278 - 286. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศิริพร สุเมธารัตน์. (2554). ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองสุรินทร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

สุดถนอม ตันเจริญ. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2560 ครั้งที่ 1, 16 มิถุนายน 2560. 361 - 368. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

สุทัศน์ กองทรัพย์. (2550). ประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

Petrotchenko, M. (2014). Focusing on the Angkor Temples : The Guide Book. (3rd edition). Maine : Irish Booksellers.

บุคลานุกรม

เจ้าหน้าที่กรมศิลปากรผู้ดูแลปราสาททนง ก. (ผู้ให้สัมภาษณ์). สุริยา คลังฤทธิ์ (ผู้สัมภาษณ์).ที่ ปราสาททนง ตำบลปราสาททนง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ 32140. เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2563.

ผู้ประกอบการร้านค้าสหกรณ์โรงเรียนบ้านทนง ก. (ผู้ให้สัมภาษณ์). สุริยา คลังฤทธิ์ (ผู้สัมภาษณ์).ที่ โรงเรียนบ้านทนง ตำบลปราสาททนง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ 32140. เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2563.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-30