ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง สู่การเป็นศูนย์กลางอนุภูมิภาคลุ่มน ้าโขง

Main Article Content

สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อรวบรวมข้อมูลและประเมินศักยภาพของแต่ละ

ภาคส่วนที่เป็นองค์ประกอบในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและเพื่อให้ได้แนวทางในการเพิ่มศักยภาพและ

พัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมความ

พร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางอนุภูมิภาคลุ่มน้้าโขงผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องใน

กลุ่มจังหวัด เป็นการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสอบถามการสัมภาษณ์และการ

สัมภาษณ์กลุ่ม น้ามาแปรผลเชิงปริมาณและเชิงเนื้อหาตามขอบเขตและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยศึกษา

จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจการท่องเที่ยวทั้งตัวผู้ด้าเนินธุรกิจ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ภาครัฐ

และเอกชนที่เกี่ยวข้องและนักท่องเที่ยวในพื้นที่ศึกษาคือกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ตอนกลาง อันได้แก่ จังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด และมหาสารคาม จากการศึกษาเพื่ออธิบายถึง

ความพร้อมของภาคส่วนต่างๆ ของกลุ่มจังหวัดพบว่า 1) ยุทธศาสตรการพัฒนาภายใตโครงการความร

วมมือของประเทศในกลุม GMS ตามแนว Economic Corridor จะชวยสงเสริมบทบาทของประเทศ

ไทยในการเป็นผู้น้าด้านการทองเที่ยวในอนุภูมิภาค 2) กิจกรรมการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและ

วัฒนธรรมของกลุมจังหวัด ยังเปนเพียงกิจกรรมการท่องเที่ยวตามเทศกาลเท่านั้น แต่ยังไมมีการพัฒนา

กิจกรรมสนับสนุนเพื่อสรางรายได้ให้เกิดขึ้นเพิ่มเติม 3) เสนทางคมนาคมในพื้นที่ยังไมสามารถเชื่อมโยง

แหลงทองเที่ยวภายใน กลุมจังหวัดไดอยางครบถวน เนื่องจากแหลงทองเที่ยวกระจายตัวและอยูห

างไกลกันในแตละพื้นที่ รวมทั้งเสนทางที่ใชสัญจรเขาสูแหลงทองเที่ยวในบางแห่งยังไมไดรับการพัฒนาให้มี

คุณภาพมาตรฐานอยางเพียงพอ และ 4) ผูเยี่ยมเยือนมีการใชจายเฉลี่ยต่้าเมื่อเปรียบเทียบ

กับผูเยี่ยมเยือนในภาคอื่นๆ ของประเทศ

Abstract

The objectiveof this research is to study the strategy of each sector within the

framework of ASEAN Tourism Strategic Plan 2011 - 2015 in order to put the framework

in an integrated manner into action plan for developing the Central Northeastern

Region to be the center in connecting the Greater Mekong Sub-region. This will boost

tourism in the Central Northeastern Region by promoting the activities that are

appropriate to local conditions, environment and culture as being the tourist

information center by focusing on the people in the area in having a role in

determining guidelines for various operations on their own in order to achieve strength

and sustainable development. The objectives of this research are as follows; 1) to

study and evaluate the potential of each sector that are the components in tourism

industry within the framework of ASEAN Tourism Strategic Plan 2011 – 2015, and 2) to

find ways to enhance and develop the tourism industry in the Central Northeastern

Region to support the ASEAN Community. The areas of study were 4 provinces in the

Central Northeastern Region consisting of Kalasin, Khon Kaen, Maha Sarakham and Roi

Et, using tourism clustering approach. This study used the exploratory qualitative

research to obtain preliminary information according to the purposes by collecting

data from questionnaires, in-depth interviews and focus groups of entrepreneurs in

various sectors, including quantitative research using the field survey research to

explore and collect information of tourist attractions and tourist behaviors from

questionnaires. The findings obtained from the analysis of the basic information and environmental factors influencing the development of tourism potential and

capability in the areas of the Central Northeastern Region indicated the issues and  development conditions that should be focused and need to be modified to enhance level of capability of the provinces, and to be used as a framework to define the

strategy to develop the tourism in the Central Northeastern Region into the center in connecting the Greater Mekong Sub-region.

Article Details

บท
บทความวิจัย