การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบมีส่วนร่วมของชุมชนรอบพื้นที่ เหมืองแม่เมาะอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง

Main Article Content

คมกฤต วงษ์นาง
เกศรา สุกเพชร
ศรีสุดา แซ่ลี้
สุรัตน์ วรางค์รัตน์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เหมาะสมกับสภาพและศักยภาพของพื้นที่รอ

บเหมืองแม่เมาะ และเพื่อพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงในพื้นที่รอบเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ

จังหวัดลำปาง

เก็บข้อมูลจากด้วยการสัมภาษณ์และประชุมกลุ่มย่อยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการท่องเที่ยวในพื้นที่รอบเห

มืองแม่เมาะและการสำรวจแหล่งท่องเที่ยวด้วยแบบบันทึกแหล่งท่องเที่ยวและแบบบันทึกกิจกรรม

ผลการวิจัยพบว่าบ้านเมาะหลวงเป็นสถานที่มีศักยภาพ มีความพร้อม

สามารถพัฒนาไปสู่การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในลักษณะ การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ

แหล่งศึกษาเรียนรู้อุตสาหกรรมเหมืองถ่านหิน และประวัติศาสตร์

สามารถเชื่อมโยงพื้นที่เพื่อจัดการท่องเที่ยวที่มีความหลากหลายได้เป็นอย่างดี

ด้านสาธารณูปโภคและการบริการมีศักยภาพอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง

ด้านภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติยังไม่มีความเหมาะสม

ชุมชนมีฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีวิถีชีวิตแบบพึ่งพา ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

มีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น

โดยสามารถพัฒนาไปพร้อมกับการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวและเส้นทางท่องเที่ยวรอบเหมืองแม่เมาะได้

4 เส้นทาง และมีโปรแกรมการท่องเที่ยวแนะนำในระยะเวลา 2 วัน 1 คืน

Abstract

This study of Community Based Tourism Management, focusing on a

community around the Mae-Moh Mine, Lampang, aims to examine tourism models,

suitable for the situation and potentiality of Mae Moh Mine area, to develop the travel

routes for linking to the other attractions around Mae Moh area. The data were

collected through in-depth interview and focus group discussion among stakeholders

in the area and by surveying tourism attractions and tourism activities in destination.

The results reveal that Ban Moh Luang has most potentiality and readiness to

develop tourism management. Ecotourism, Lignite Mining tourism and historical

tourism are the most appropriate models in this area, to develop and link the

attractions using the various activities under consideration. Ban Moh Luang seems most

suitable in all aspects to accommodate tourists in terms of utilities although the

current provision of services is only moderate and the landscaping of the natural

attractions is not ideal. In addition, this community lives in harmony with its rich

natural resources, and has an outstanding culture and customs. The results of this

study can inform the development and conservation of four tourist routes, offering a

travel program in the area of two days and one night.

Article Details

บท
บทความวิจัย