ผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ต่อการประกอบธุรกิจร้านอาหารย่านเยาวราชกรุงเทพมหานคร Research the impact of the coronavirus outbreak 2019 on small food business in Yaowarat KrungThep Maha Nakhon.

Main Article Content

ชิสา เจิมวรายุกร
พิศาล แก้วอยู่
พิศมัย จัตุรัตน์
นิตยา หาสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ในย่านเยาวราช 2) ศึกษาผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ต่อการประกอบธุรกิจอาหารย่านเยาวราชกรุงเทพมหานคร และ 3) ศึกษาแนวทางในการปรับตัวและวิธีการรับมือของธุรกิจร้านอาหารให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา2019 การวิจัยนี้ใช้วิธีการดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยผู้วิจัยใช้การศึกษาที่ประกอบไปด้วยข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เอกสาร และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารย่านเยาวราช จำนวน 20 ร้าน โดยข้อมูลการสัมภาษณ์ได้นำมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content  Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ของย่านเยาวราช ไวรัสโคโรนา 2019 แพร่ระบาดมาต่อเนื่องยาวนานเกือบ 2 ปี ไม่มีแนวโน้มที่จะยุติ ที่สำคัญยังมีแนวโน้มกลับมาแพร่ระบาดซ้ำ แต่หลังจากที่รัฐบาลได้ประกาศผ่อนคลายมาตราการให้สามารถนั่งรับประทานได้แล้ว ทำให้เริ่มมีลูกค้าและนักท่องเที่ยวมาเที่ยวและรับประทานอาหารที่ย่านเยาวราช บ้างแล้ว 2) ผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ต่อการประกอบธุรกิจร้านอาหารย่านเยาวราช ได้รับผลกระทบรายด้าน ดังนี้ 2.1) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ 2.2) ผลกระทบด้านสุขภาพ 2.3) ผลกระทบด้านอารมณ์และจิตใจ วิธีการปรับตัวชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และ 3) วิธีการรับมือธุรกิจร้านอาหารในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 สามารถสรุปได้ 5 ประเด็น ดังนี้ 3.1) การปรับตัวด้านการบริหารจัดการด้านการเงิน  3.2) การปรับตัวด้านรูปแบบการให้บริการ 3.3) การปรับตัวด้านการเรียนรู้และพัฒนา 3.4) การปรับตัวด้านการบริการจัดการด้านกระบวนการภายในร้าน 3.5) การปรับตัวด้านการบริหารจัดการด้านลูกค้า

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (26 กันยายน 2564). 11 วิธีดูแลตัวเองอยู่บ้าน เมื่อติดโควิด 19. https://www.bangkokbiznews.com

(26 กันยายน 2564). ความหมายของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. https://ddc.moph.go.th

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. (24 กันยายน 2564). ประเภทร้านอาหาร.

http://www.dbd.go.th/download/data_srevice/2sep.doc

กรุงเทพธุรกิจ. (30 ตุลาคม 2564). ร้านอาหารวอน “ขยาย” เวลาเปิดถึงสี่ทุ่ม.

https://www.bangkokbiznews.com

กัญสุดา เชิดชูถิ่น. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการร้านอาหารทะเล เขตบางขุนเทียนชายทะเล จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการทองเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กันยา สุวรรณแสง. (2536). การพัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัว. กรุงเทพฯ : บํารุงสาสน.

เกียรติภูมิ วงศ์รจิต. (24 กันยายน 2564). สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย. https://www.bbc.com

คมสัน สุรินทร์สีรัตน์, ผู้ประกอบการร้านบะหมี่จับกัง. (26 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

จักรพันท์ แซ่ตั้ง, ผู้ประกอบการร้านเล่าตั้ง ห่านพะโล้. (26 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

จุฑามาศ พีรพัชระ, สมนึก วิสุทธิแพทย์, ธีรวุฒิ บุณยโสภณ และ ทวีศักดิ์ รูปสิงห์. (กรกฎาคม – ธันวาคม 2561). “รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหาร”. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคมปีที่, 6(2) : 165-176.

ชัชชญา พรมอ่อน, ผู้ประกอบการร้านข้าวมันไก่แปลงนาม. (23 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ชนาธิป ไชยเหล็ก. (24 กันยายน 2564). ‘คลัสเตอร์สถานบันเทิงย่านทองหล่อ วันที่ 6 เมษายน 2564. https://thestandard.com

ชุตินาถ ทัศนานุพันธ์, ผู้ประกอบการร้าน Jing Jing Ice-Creambar and Café. (23 กันยายน 2564).

สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ฐิตาพร เตชะมงคลาภิวัฒน์, ผู้ประกอบการร้าน Nam Dao Huu. (23 กันยายน 2564).

สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ณิชชา พุ่มจำรัส. (2555). รูปแบบและกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจของโก๊ะข้าวมันไก่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการประกอบการ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐพิสิษฐ์ ก่อเศรษฐรัฐ, ผู้ประกอบการร้านฮะเก่า. (27 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ณัฐวุฒิ รุ่งเสถียรภูธร. (2559). ประเภทของร้านอาหาร คุณภาพของอาหาร คุณภาพการบริการและสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการร้านอาหารส่าหรับมื้อค่ำของประชากรในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ณฤดี ศิรฐานนท์. (2556). พฤติกรรมการรับประทานอาหารริมทางในย่านถนนเยาวราชของผู้บริโภควัยทำงานในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เดลินิวส์. (30 ตุลาคม 2564). อาลัย “เฮียอ้วน”ตำนานก๋วยจั๊บเยาวราช ติดเชื้อโควิดเสียชีวิต. www.dailynews.co.th

ดาริกา จันทพลา. (2559). การปรับตัวของข้าราชการพลเรือนในจังหวัดนนทบุรีหลังจากเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ตั้งทรัพย์ มณี, ผู้ประกอบการร้านก๋วยจั๊บอ้วนโภชนา. (29 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ไทยโพสต์. (30 ตุลาคม 2564). ซูเปอร์โพล แนะมาตรการเยียวยาแก้ปัญหาโควิด-19 ทุกมิติ. https://www.thaipost.net

ไทยรัฐออนไลน์. (30 ตุลาคม 2564). สลดปี 63 ตัวเลขคนไทยฆ่าตัวตายสูงลิ่ว กรมสุขภาพจิตแนะสำรวจตนเอง. www.thairath.co.th

(30 ตุลาคม 2564). บรรยากาศสตรีทฟู้ดเยาวราชหงอยเหงา แม่ค้าบอกเงียบที่สุดในรอบ 30 ปี. www.thairath.co.th

นิสา เจ๊าลี่, ผู้ประกอบการร้านฮั่งเซ่งฮง. (28 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

นำชัย ฐิติวงศ์ทวีเวศ, ผู้ประกอบการร้านเซี้ย เหล่ายี่ห้อ ข้าวหมูแดงแปลงนาม. (23 กันยายน 2564).

สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

บวรพล พราหมณ์พันธุ์, ผู้ประกอบการร้านไชยพราหมณ์. (29 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

เบญจมาภรณ์ ชำนาญฉา. (24 กันยายน 2564). การท่องเที่ยวเชิงอาหาร: ศักยภาพและความได้เปรียบของประเทศไทย. https://apheit.bu.ac.th.

ปรรถรัฐศฎา เรืองภู. (2560). สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาการประกอบการร้านอาหารประเภทจานเดียว กรณีศึกษาร้านก๋วยเตี๋ยวหมูต้มยำเฮียหั่ง. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 2 มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประกาศิต จิตตโคตร, ผู้ประกอบการร้านข้าวมันไก่สิริราม่า. (26 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ประชาชาติธุรกิจ. (24 กันยายน 2564). พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มาตรการ การเยียวยาผู้ประกอบการร้านอาหาร. https://www.prachachat.net

. (30 ตุลาคม 2564). พบ “ร้านอาหาร” ย่านเยาวราชติดโควิด กทม. สั่งปิดทำความสะอาด. https://www.prachachat.net

ประวีณ์ ธนพรสกุลชัย, ผู้ประกอบการร้านเหอเฉินฟง. (6 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ผู้ประกอบการร้าน, ร้านเตี๋ยวเกี๊ยวยักษ์ สูตรเด็ดแม่. (28 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ผู้ประกอบการ, ร้านนายหมงหอยทอด. (28 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

พงษ์มนัส ดีอด. (มิถุนายน 2563). “ผลกระทบของการแพร่ระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 ต่อการประกอบอาชีพบริการจัดส่งอาหาร”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(6) : 140-142.

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535. (24 กันยายน 2564). ภัตตาคาร หรือ ร้านอาหาร.

www.research-system.siam.edu/images/0_Ad_Coop/2559/Communication_ at_the_Tonmakok_Restaurant_of_Baan_Wanglang_Riverside/07_ch2.pdf.pdf

พีรสรณ์ จิรพิชิตชัย. (2562). การเสริมสร้างศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงอาหาร Gastronomy Tourism : Street foodกรณีศึกษา : ถนนเยาวราช เขตสัมพันธวงศ์จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาผู้นำภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ภักจิรา ปะหนัน, ผู้ประกอบการร้าน Ba Hao Tian Mi Yaowarat. (22 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

ภาณุวัฒน์ ภักดีอักษร. (กรกฎาคม – ธันวาคม 2555). “ทฤษฎีแรงจูงใจการท่องเที่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอาหาร”. วารสารวิทยาการจัดการ, 29 : 129-146.

ภาวิดา สุขถาวร, ผู้ประกอบการร้านกินมันส์ข้าวผัดปู. (27 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

มติชนออนไลน์. (30 ตุลาคม 2564). เสียงจากร้านอาหาร หลังผ่อนปรนให้นั่งกินได้ ยอมเสี่ยงแลกมีเงินหมุน. https://www.matichon.co.th

ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

วิไลเลิศ วิริยะวณิชย์, ผู้ประกอบการร้านอาหารเจ้เมย์ข้าวราดแกง. (21 กันยายน 2564). สัมภาษณ์

โดย นิตยา หาสุข.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (30 ตุลาคม 2564). ธุรกิจร้านอาหาร. https://kasikornresearch.com

สง่า เรืองวัฒนกุล. (24 กันยายน 2564). พิษโควิด!ทำผู้ค้าข้าวสาร-เยาวราชรายได้หด เร่งฟื้นเศรษฐกิจ. https://www.dailynews.co.th

สิทธิชัย ธรรมเสน่ห์. (กรกฎาคม 2564). “รูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจร้านอาหารในยุคปกติวิถีใหม่สำหรับผู้ประกอบการ”. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(7) : 498-512.

สมิทธ์ ลีลาอมร. (2557). การรับรู้คุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและความจงรัก ภักดีต่อร้านอาหารรถเข็น ริมทางเท้าย่านเยาวราช กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สุรชาติ สารคุณพิทักษ์, ผู้ประกอบการร้านเล่าซ่งเฮง. (28 กันยายน 2564). สัมภาษณ์โดย นิตยา หาสุข.

สุภางค์ จันทวานิช. (2543). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

องค์การอนามัยโลก. (26 กันยายน 2564). ประกาศเปลี่ยนการเรียกชื่อไวรัสโควิด-19 กลายพันธุ์. https://workpointtoday.com

Brandbuffet. (24 กันยายน 2564). ธุรกิจร้านอาหารสู้อย่างไรให้รอด! ในวันที่ลูกค้าน้อยลง คู่แข่งมากขึ้น ต้องเว้นระยะห่าง กรณีศึกษาการพลิกตำราสู้วิกฤติ.

https://www.brandbuffet.in.th

Hall, C. M., Sharples, L., Mitchell, R., Macionis, N., & Cambourne, B. (Eds.). (2003). Food tourism around the world: Development, management and markets Book. Oxford : Butterworth- Heinemann.

Lazarus, R. S. (1971). “The concept of stress and disease”. Society, Stress and Disease, 1 : 53-56.

Mak, A. H. N., Lumbers, M., Eves, A., & Chang, R. C. Y. (2012). “Factors influencing tourist food consumption”. International Journal of Hospitality Management, 31(3) : 928-936.

Malm & Jamison. (1952). การปรับตัวและบุคลิกภาพ : จิตวิทยาเพื่อการศึกษาและชีวิต. กรุงเทพฯ : โอ.เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

RYT9. (30 ตุลาคม 2564). สวนดุสิตโพล: มาตรการช่วยเหลือของรัฐในช่วงโควิด-19.

https://www.ryt9.com

TOT. (24 กันยายน 2564). เทคนิคเปลี่ยนร้านอาหารให้เป็นรูปแบบออนไลน์ในสภาวะโควิด-19. www.tot.co.th

TRUE ID. (24 กันยายน 2564). 20 ร้านอร่อย เยาวราช แวะทุกร้านเด็ด ตั้งแต่ของเมนูคาว ปิดท้ายด้วยเมนูหวาน. www.food.trueid.net

UNICEF. (24 กันยายน 2564). โรคไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) : สิ่งที่ผู้ปกครองควรรู้.

www.unicef.org

Williamson, E. G. (1950). How to Counsel Student. New York : McGraw–Hill Book.