สมรรถนะผู้นำกลุ่มท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนท่องเที่ยวที่ประสบความสำเร็จในประเทศไทย

Main Article Content

จิระพงค์ เรืองกุน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะผู้นำกลุ่มท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนท่องเที่ยวที่ประสบความสำเร็จในประเทศไทย โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เลือกพื้นที่ศึกษาชุมชนท่องเที่ยว 6 แห่ง ได้แก่ ชุมชนบ้านนาต้นจั่น ชุมชนเกาะยาวน้อย ชุมชนบ้านคีรีวง ชุมชนบ้านผาบ่อง ชุมชนบ่อหิน และชุมชนคลองลัดมะยม รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการศึกษาเอกสาร ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้นำกลุ่มท่องเที่ยว และสมาชิกกลุ่มท่องเที่ยว รวม 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะผู้นำกลุ่มท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนท่องเที่ยวที่ประสบความสำเร็จ มี 7 ประการ ได้แก่ แรงขับในการพัฒนาชุมชน ความไว้วางใจ การมีวิสัยทัศน์ ความสามารถทางการบริหาร ทักษะการสื่อสาร ความสามารถทางการตลาด และความสามารถในการสร้างเครือข่าย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา นามสมติ. (2561, 12 มกราคม). เลขานุการกลุ่มท่องเที่ยวบ้านคีรีวง. การสัมภาษณ์.

ข้าวขวัญ คุณวุฒิ และอารีย์ นัยพินิจ. (2560). ขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการตลาดการท่องเที่ยว

ของนครชัยบุรินทร์. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มข., 10(1), 199-219.

จินตนา นามสมมติ. (2561, 2 กุมภาพันธ์). แกนนำกลุ่มท่องเที่ยวบ้านผาบ่อง. การสัมภาษณ์.

จักรี นามสมมติ. (2561, 6 มกราคม). แกนนำกลุ่มท่องเที่ยวเกาะยาวน้อย. การสัมภาษณ์.

เดือนเพ็ญ คำพวง ศุภพร ไทยภักดี และพันธ์จิตต์ สีเหนี่ยง. (2559). กระบวนการสร้างเครือข่ายแหล่ง

ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนในอำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการการ

ท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 12(1), 65-90.

นคเรศ ณ พัทลุง และยุวัฒนธ์ วุฒิเมธี. (2555). ความมุ่งมั่นของผู้นำในการพัฒนาตามหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 13(24), 33-44.

นรินทร์ สังข์รักษา. (2553). การศึกษาสภาพการณ์ของการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมในจังหวัดนครปฐม.

วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 2(1), 19-32.

บรรจง นามสมมติ. (2561, 2 สิงหาคม). ผู้นำกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ่อหิน. การสัมภาษณ์.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และเพ็ญศิริ ศรีคำภา. (2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน (พิมพ์ครั้งที่ 2).

นนทบุรี: ธรรมสาร.

พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์. (2553). การท่องเที่ยวชุมชน. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

เพชรศรี นนท์ศิริ. (2555). รูปแบบการดำเนินงานของกลุ่มท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง.

วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 8(2), 47-65.

มธุรา สวนศรี. (2559). แนวทางการพัฒนาการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ตลาด

น้ำบางน้ำผึ้ง จังหวัดสมุทรปราการ. กระแสวัฒนธรรม, 17(31), 41-55.

รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และภาคภูมิ ภัควิภาส. (2558). การตลาดสำหรับการจัดการท่องเที่ยวในจังหวัด

เชียงใหม่เพื่อสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวจีน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีส

เทอร์น, 8(2), 62-72.

วราภรณ์ ลิ้มเปรมวัฒนา และดาริกา กูลแก้ว. (2561). องค์ประกอบของปัจจัยการตลาดและพฤติกรรมของ

นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้ำคลองลัดมะยม. กระแสวัฒนธรรม, 19(36), 41-50.

วิชชุดา นามสมมติ. (2562, 17 พฤศจิกายน). สมาชิกกลุ่มท่องเที่ยวบ้านนาต้นจั่น. การสัมภาษณ์.

เสงี่ยม นามสมมติ. (2562, 16 พฤศจิกายน). ผู้นำกลุ่มท่องเที่ยวบ้านนาต้นจั่น. การสัมภาษณ์.

อมร นามสมมติ. (2561, 2 กุมภาพันธ์). ผู้นำกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ้านผาบ่อง. การสัมภาษณ์.

แอนนา นามสมมติ. (2561, 6 มกราคม). สมาชิกกลุ่มท่องเที่ยวเกาะยาวน้อย. การสัมภาษณ์.

Bello, F. G., Lovelock, B., & Carr, N. (2018). Enhancing community participation in tourism

planning associated with protected areas in developing countries: Lessons from

Malawi. Tourism and Hospitality Research, 18(3), 309-320.

Cameron, E., & Green, M. (2015). Making sense of change management: A complete guide

to the models, tools and techniques of organizational change. (4th ed.) London:

Kogan Page.

Cummings, T. G., & Worley, C. G. (2015). Organization development & change (10th ed.).

Stamford, CT: Cengage Learning.

Goodwin, H. & Santilli, R. (2009). Community-based tourism: A success. Leeds: ICRT

Occasional Paper No. 11.

Haven-Tang, C, & Jones, E. (2012). Local leadership for rural tourism development: A case

study of Adventa, Monmouthshire, UK. Tourism Management Perspective, 4, 28-

Khazaei, A., Elliot, S., & Joppe, M. (2015). An application of stakeholder theory to advance

community participation in tourism planning: The case for engaging immigrants as

fringe stakeholders. Journal of Sustainable Tourism, 23(7), 1049-1062.

Kontogeorgopoulos, N., Churyen, A., & Duangsaeng, V. (2014). Success factors in

community- based tourism in Thailand: The role of luck, external support, and

local leadership. Tourism Planning & Development, 11(1), 106-124.

Lussier, R. N., & Achua, C. F. (2016). Leadership: Theory, application, & skill development

(6th ed.). Boston, MA: Cengage Learning.

Rechards, G. (2018). Cultural tourism: A review of recent research and trends. Journal of

Hospitality and Tourism Management, 36, 12-21.

Robbin, S. P., & Coulter. (2018). Management (14th ed.). Harlow: Pearson Education.

Spencer, L. M., & Spencer, S. M. (1993). Competence at work: Models for superior

performance. New York: John Wiley & Sons.

Woyo, E., & Woyo, E. (2018). Towards the development of cultural tourism as an

alternative for tourism growth in Northern Zimbabwe. Journal of Cultural Heritage

Management and Sustainable Development, https://doi.org/10.1108/JCHMSD-08-

-0048

Yukl, G., & Gardner, W. L. (2020). Leadership in organizations (9th ed.). Upper Saddle River, NJ:

Pearson.