องค์ประกอบการจัดการคุณภาพเชิงสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการกลุ่มผลิตภัณฑ์ ผ้าไหมไทย
คำสำคัญ:
องค์ประกอบการจัดการคุณภาพเชิงสร้างสรรค์, ผู้ประกอบการกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทยบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ประกอบของการจัดการคุณภาพเชิงสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย ใช้วิธีวิทยาการประยุกต์เทคนิคการวิจัยชาติพรรณวรรณาเชิงอนาคต (EDFR) ในการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 17 คน ได้แก่ นักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา พนักงานภาครัฐ และผู้ประกอบการกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย เก็บข้อมูลรอบที่ 1 ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก และเก็บข้อมูลรอบที่ 2 ด้วยแบบสอบถาม ผลการวิจัย พบว่าองค์ประกอบของการจัดการคุณภาพเชิงสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย จำแนกตามมุมมองทฤษฎีระบบ ประกอบด้วย 3 ด้าน รวม 9 องค์ประกอบ โดยแยกเป็นด้านปัจจัยนำเข้า 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) พันธสัญญาต่อชุมชน 2) ทุนวัฒนธรรม และ 3) แผนการดำเนินงาน ด้านกระบวนการเพิ่มผลิตภาพเชิงสร้างสรรค์ 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) กระบวนการสร้างภูมิปัญญาสร้างสรรค์ข้ามวัฒนธรรม และ 2) กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ในการผลิต และด้านผลลัพธ์ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การส่งมอบคุณค่า 2) ความยั่งยืน 3) ต้นทุนคุณภาพ และ 4) เครือข่ายคุณภาพสร้างสรรค์
Downloads
References
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2558). การจัดการธุรกิจขนาดย่อม. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
บรรจง จันทมาศ. (2547). การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ: พิมพลักษณ์.
บุญฑวรรณ วิงวอน ชัยยุทธ เลิศพาชิน และขจรศักดิ์ วงศ์วิราช. (2555). การจัดการห่วงโซ่อุปทานของวิสาหกิจชุมชนผักปลอดสารพิษของอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง. ใน วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. 4(4): 36-48.
ประยูร อิมิวัตร์ ปฐมทัศน์ บรรณเลิศ ณัฐพงศ์ รักงาม ภูริพัฒน์ แก้วศรี ทศพล พงษ์ต๊ะ ชุติมา ปัญญาหลง เนรมิตร จิตรรักษา. (2562). ท้องถิ่นอภิวัตน์ : นวัตกรรมการจัดการชุมชนตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. วารสารการบริหารปกครอง. 7(2). 173-193
ประสิทธิ์ สุนทรารักษ์. (2551). การวิเคราะห์ต้นทุนคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม : กรณีศึกษา โรงงานผลิตเครื่องหนังและเฟอร์นิเจอร์ และโรงงานผลิตวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง.ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบััณฑิต สาขาวิศวกรรมอุุตสาหการ, กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.
พรรณิภา ซาวคำ ปริพรรน์ แก้วเนตร ณฐมน สังวาลย์ งามนิจ แสนนำพล และภูวนารถ ศรีทอง. (2561).การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อเข้าสู่ตลาดธุรกิจโรงแรม จังหวัดเชียงราย.ใน วารสารดุสิตธานี.12(1): 165-182.
พัณณธัญญ์ วิจิตรวงศ์เจริญ. (2561). Quality Management System: คุณภาพยิ่งให้ยิ่งได้กำไรอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: 7D academy.
ลภัสรดา สหัสสพาศน์ และนรินทร์ สังข์รักษา. (2560). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการพื้นที่สร้างสรรค์จังหวัดเพชรบุรีตามบริบทสังคมประเทศไทย 4.0. ใน วารสาร Veridien E-journal. 11(2): 1056-1072
วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล วลัยลักษณ์ อัตธีรวงศ์ และกนกกรรณ์ ลี้โรจนาประภา. (2561). การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและเมททริกซ์ทาวซ์เพื่อพัฒนายุทธวิธีการเพิ่มศักยภาพ โซ่อุปทานผ้าไหมไทย-ลาว. ใน วารสารการจัดการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. 7(3): 15-26.
วิไลวรรณ นครไทย (2558). การประยุกต์ใช้ต้นทุนคุณภาพสำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์. ปริญญานิพนธ์ วศ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.
ศีมาศ ประทีปะวณิช กิตติกรณ์ นพอุดมพันธุ์ นพดล อินทร์จันทร์ และพรรณี วิรุณานนท์. (2560). การศึกษากระบวนการผลิตผ้าไหมมัดหมี่ กรณีศึกษา พื้นทิอำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 20(1) . 146-159.
สติธร ธนานิธิโชติ. (2562). การปรึกษาหารือสาธารณะ แนวคิด ประสบการณ์ และข้อเสนอรูปแบบสำหรับการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สิทธิชัย ธรรมเสน่ห์. (2555). สมรรถนะของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ประเภทกิจการสถานบริการสปา ในจังหวัดชลบุรี กับขีดความสามารถอันพึงประสงค์ของผู้รับบริการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานวิจัยแห่งชาติ.
อรนุช นาคชาติ และณัฐสุรางค์ ปุคคละนันท์.(2560). การพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ในการผลิตผ้าไหมย้อมสีด้วยเมล็ดมะขามเพื่อเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์: กรณีศึกษาผ้าขาวม้า บ้านทัพกระบือ ตำบลสำโรง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. สุรินทร์: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
Andrea S., Vince T. (2006). A review of research on cost of quality models and best practices. International Journal of Quality & Reliability Management. 23(4): 1-23. Retrived June 12, 2019, from https://www.researchgate.net/publication/228373193_A_review_of_research_on_cost_of_quality_models_and_best_practices/link/00b7d53a022bb4726f000000/download
Armstrong, M. (2006). Strategic Human Resource Management: A Guide to Action 3rd ed. London:Kogan Page.
Bell, D and Jayne, M. (2010). The creative countryside: Policy and practice in the UK rural cultural economy.
Journal of Rural Studies. 26(3). 209-218.
Claudio Cocorocchia, Jonathan Dunn, Stefan Hall, and Ryo Takahashi. (2018). Creative Disruption: The impact of emerging technologies on the creative economy. in world economic forum 2018. Retrived August 20, 2019, from http://www3.weforum.org/docs/39655_CREATIVE-DISRUPTION.pdf
Charles W. L. Hill, Gareth R. Jones. (2009). Strategic Management: An Integrated Approach. USA.: Cengage South-Western.Deming,
W.E. (1950). Elementary Principles of the Statistical Control of Quality.Tokyo: Nippon Kagaku Gijutsu Remmei.
John, I. Gallin. (2002). Principles and practice of clinical research. USA: Oxford.
Jose A., Garza-Reyes, Kannan G., Anass Cherrafi, Usha Ramanathan. (2018). PDCA-based approach to Environmental Value Stream Mapping (E-VSM). Journal of Cleaner Production. 180(10). 335-348.
Kathryn M., Barton & David C.M. (1998). Management. Boston USA : McGraw-Hill Inc.
Luciana, L., Capone, F. and Innocenti,, N. (2017). Exploring the intellectual structure of creative economy research and local economic development: a co-citation analysis. European Planning Studies. 25(7): 1693-1713.
Margherita Corniani.(2008). Push and Pull Policy in Market-Driven Management. YMPHONYA Emerging Issues in Management. Italy: University of Milan-Bicocca.
McMahan, G. C., Myrtle P. Bell, and Meghna Virick. (1998). Strategic Human Resource Management: Employee Involment, Deversity, and International Issues. Human Resource Management Review.8(3).(Autumn). 193-214.
McMillan, Thomas. (1971). The Delphi Technique. paper presented at annual meeting of California Junior.College Association Commission on Research and Development 3 May 1971 Monterrey California.
United Nations. (2018). Power, Platforms and The Free trade delusion. In United Nations Conference on Trade and Development: Trade and Report 2018. Retrived August 5, 2019, from https://unctad.org//en/PublicationsLibrary/tdr2018_en.pdf
Wever, Renee & Tempelman, Erik. (2009). The Social Component of Sustainable Packaging. The 24th IAPRI symposium on packaging. Greenville, SC, May.
XVerma and Boyer. (2009). Operations and Supply Chain Management for the 21st Century. : USA:south-western cengage learning.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ