การบริหารจัดการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยของสถาบัน อุดมศึกษา

ผู้แต่ง

  • ณิชาภัทร จาวิสูตร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, ศิลปวัฒนธรรม, การจัดการวัฒนธรรม

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารจัดการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยของสถาบันอุดมศึกษา จากมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีหน่วยงานรับผิดชอบงานด้านศิลปวัฒนธรรมโดยตรงจำนวน 5 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยสวนดุสิตและมหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 380 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) โดยมีเครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .986 และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าคะแนนเฉลี่ย (x̄)
และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยของสถาบันอุดมศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x̄=3.50 S.D. = 0.76)
_
= 3.50 S.D. = 0.76)

References

กรมศิลปากร. (2541). การศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการเพิ่มประสิทธิภาพของสถาบันส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของกรมศิลปากรและการท่องเที่ยวกับการพัฒนาทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชน.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2561, 17 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอนพิเศษ 199. หน้า 19 – 21.

จิรวัฒน์ พิระสันต์ และวิรุณ ตั้งเจริญ. (2548). “การพัฒนารูปแบบภารกิจของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาศิลปกรรมท้องถิ่น: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยนเรศวร”. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร. 12(1) : 25-36.

ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์และคณะ. (2548). ดัชนีบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินคุณภาพด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).

ณิชาภัทร จาวิสูตร. (2557). รายงานวิจัย การสำรวจความต้องการจำเป็นเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำด้านศิลปวัฒนธรรมสำหรับนิสิตสโมสรนิสิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ณิชาภัทร จาวิสูตร, สุรชัย ทุหมัด และปวัตน์ชัย สุวรรณคังคะ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมกับโครงการด้านศิลปวัฒนธรรมแก่ชุมชน : กรณีศึกษา โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ. 20(2) 135 - 144.

ทิพย์อนงค์ เลื่อนพุควัฒน์. (2546). รูปแบบการดำเนินงานด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมในสถาบันอุดมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด.(การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธนิก เลิศชาญฤทธ์. (2550). การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธัญรัตน์ จันทร์ปลั่ง. (2550). การศึกษาวิวัฒนาการภารกิจทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของสถาบันอุดมศึกษาไทย (พ.ศ.2459– 2549). วิทยานิพนธ์ ค.ด.(อุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธิดารัตน์ นาคบุตร. (2553). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้สาขาทัศนศิลป์ : กรณีศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.(การบริหารงานวัฒนธรรม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธีรวุฒิ เอกะกุล . (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.

บุญชม ศรีสะอาด. (2541). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาร์น.

ประเวศ วะสี. (2538). “วัฒนธรรมกับการพัฒนา” ใน โครงการสืบสานวัฒนธรรมไทยเรื่องภูมิปัญญาไทยมิติใหม่ในการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ประภัสสร โพธิ์ศรีทอง. (2556). โลกาภิวัตน์กับการจัดการวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 17 สิงหาคม 2561 จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=887666.

พัชรีพร วรจักร และคณะ. (2560). รูปแบบการทำนุบำรุงศลิปวัฒนธรรมชมุชนของสถาบันอุดมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 13(1) : 131-140.

พิศรวัส ภู่ทอง และอัมพวัลย์ วิศวธีรานนท์. (2559, กรกฎาคม – ธันวาคม). “รูปแบบการจัดการแหล่งเรียนรู้ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ : กรณีศึกษาหอศิลปะและวัฒนธรรม” วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 8(2): 2-21.

สถาบันคลังสมองของชาติ. (2560). ปักหมุดพื้นที่วัฒนธรรม: ฐานการพัฒนาพื้นที่. รายงานการสัมมนาภารกิจที่ 4 ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ. 15 มีนาคม 2560.

สุมิตรา วิริยะ และอัจฉรา ไชยูปถัมป์. (2557). “การพัฒนากลยุทธ์การพัฒนาบทบาทสถาบันอุดมศึกษาด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม”. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 42(3) : 93 – 110.

อุดร วงษ์ทับทิม. (2554). พลวัตชุมชนละว้าลุ่มน้ำโขงและสาละวิน : การศึกษาตลอดชีวิตสู่โลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

อำนาจ เย็นสบาย. (2548). รายงานการวิจัยการจัดการเรียนรู้ของแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต : หอศิลป์. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

Ferguson, George A. (1981). Statistical Analysis in Psychology and Education. 5 th ed. Singapore :McGraw-Hill International Book Co.

Cronbach, L. J. (1984). Essential of psychology testing. New York: Harper.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-29