ศึกษาเพื่อสร้างสรรค์ทัศนศิลป์และการออกแบบผลิตภัณฑ์ สําหรับแสดงภาพลักษณ์แหล่งทองเที่ยวกรุงเก่าอโยธยา
คำสำคัญ:
อโยธยา, ทัศนศิลป์, วาดภาพระบายสีนํ้า,การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ระลึก,การท่องเที่ยวบทคัดย่อ
การศึกษาเพื่อสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์สําหรับแสดงภาพลักษณ์แหล่งท่องเท กรุงเก่าอโยธยาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตลักษณ์เรื่องราวของแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธย และออกแบบเสนอแนะแนวคิดแบรนด์ตลอดจนผลิตภัณฑ์ที่ระลึก/ของฝาก
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยในรูปแบบสหวิทยาการInterdisciplinary( Research) ที่บูรณาการร่วมกัน3 ศาสตร์ได้แก่1.ทัศนศิลป์Visual( Art) ด้วยเครื่องมือการร่างภาพ2.การต่อยอดสู่การออกแบบตราสัญลักษณ์LOGO) 3.การสร้างภาพลักษณ์การท่องเที่ยว (Travel Image) จังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วยการต่อยอดสู่การออกแบบรูปแบบ ผลิตภัณฑ์
ผลของการศึกษาแบ่งเป็น2 ส่วนดังต่อไปนี้ส่วนที่1ผลการศึกษาอัตลักษณ์เรื่องราวของแหล่งท่องเที่ยว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้อัตลักษณ์สําหรับแสดงภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวกรุงเก่าอโยธยาทั้งหมด7 อัต ลักษณ์ได้แก่1.อัตลักษณ์จากโบราณสถาน วัดใหญ่ชัยมงคล2.อัตลักษณ์จากโบราณสถาน พระศรีสรรเพชญ์3.อัต ลักษณ์การปลูกข้าวจากวัฒนธรรมวิถีการปลูกข้าว4.อัตลักษณ์จากช้าง สัตว์คู่บ้านคู่เมือง5.อัตลักษณ์จากวิถีชีวิต รถตุ๊กๆ หน้ากบ6.อัตลักษณ์จากวัฒนธรรมการสานปลาตะเพียนใบลาน7.อัตลักษณ์จากแหล่งท่องเที่ยวตลาดนํ้า อโยธยา ส่วนที่2ผลการออกแบบแบรนด์ภาพลักษณ์ตลอดจนผลิตภัณฑ์ที่ระลึก/ของฝาก และผลิตภัณฑ์จากแหล่ง ท่องเที่ยวเพื่อแสดงภาพลักษณ์อโยธยา ได้ตราสัญลักษณ์สําหรับแบรนด์ผลิตภัณฑ์อโยธยา และรูปแบบแบรนด์ ภาพลักษณ์ ผลิตภัณฑ์สําหรับแสดงภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ที่ระลึก/ของฝาก ที่เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อแสด แหล่งท่องเที่ยวกรุงเก่า อโยธยาทั้งหมด7 รูปแบบดังนี้1.เสื้อยืดอัตลักษณ์อโยธยา2.พวงกุญแจอัตลักษณ์อโยธยา 3. แม่เหล็กติดตู้เย็นอัตลักษณ์อโยธยา 4.ที่ทับกระดาษอะคริลิกอัตลักษณ์อโยธยา 5.บรรจุภัณฑ์ขนมโรตีสายไหมอัต ลักษณ์อโยธยา6. นาฬิกาติดผนังอัตลักษณ์อโยธยา7.เคสโทรศัพท์มือถืออัตลักษณ์อโยธยา
Downloads
References
กรุงเทพฯ. คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุชาติ เถาทอง2559.(). ศิลปวิจัยสร้างวิชาการแบบการปฏิบัติสร้างสรรค์ศิลปะ. กรุงเทพมหานคร: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์
สมสกุล จีระศิลป์ และคณะ.(2553). แนวทางการออกแบบร้านค้าและของที่ระลึกเพื่อการพัฒนานคร
ประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยากรณีศึกษาเปรียบเทียบเมืองเก:่าพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย
และ เมืองเก่าเกียวโต ประเทศญี่ปุ่.กรุงเทพฯน:สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
แสงสุข พิทยานุกุล และ ดาวรุ่ง ชะระอ่า2558). กลยุทธ์การแข่งขันของธุรกิจสินค้าที่ระลึก สําหรับนักทองเที่ยวตางชาติในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา.สํานักวิจัยและพัฒนา
สถาบันเทคโนโลยีแห่งอโยธยา
อรัญ วานิชกร.(2557). องค์ความรู้ิปัญญาไทย:ภูม การออกแบและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัยวารสาร. สถาบันวัฒนธรรมและศิลปีที่15,เล่มที่2
อุดม เชยกีวงศ์ และคณะ2548.(). การทองเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แสงดาว
Aran Wanichakorn .(2015). THAI WISDOM KNOWLEDGE: DESIGNED AND CREATED THE CONTEMPORARY PRODUCTS. Institute of Culture and Arts .Vol 15, No 2
Chanun Wongwipak.(2002).Cultural Resource Management for Sustainable Tourism. Bangkok.
Faculty of Archeology, Silpakorn University
Suchart Thouthong.(2016). Arts for Academic Study in Artistic practice model. Bangkok.Jaransanitwong Printing
Sangsuk Pithayanukul.(2015) Competitive Business Stategies and Factors Affecting the Sale of Souvenir to Foreign Tourists in Phra Nakhon Si Ayothaya Province, Thailand. Institute of Technology Ayotthaya Phra Nakhon Si Ayothaya, Thailand
Udom Cheykeewong.(2005). Ecotourism. Bangkok: Sangdao Printing
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ