การพัฒนาความสามารถในการสะกดคำภาษาไทยและการทำงานร่วมกับผู้อื่น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนภาษา แนวบูรณาการสมดุลภาษาและการเรียนรู้แบบร่วมมือ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นกรอบการวิจัย กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 27 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบสุ่มอย่าง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ชนิด คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบ และ
3) แบบประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ T-Test แบบ Dependent
ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการสะกดคำภาษาไทยหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนภาษาแนวบูรณาการสมดุลภาษาและการเรียนรู้แบบร่วมมือ อยู่ในระดับดีเยี่ยม (M = 11.96, SD = 1.95)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กันตวรรณ มีสมสาร. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาโดยบูรณาการแนวสสมดุลภาษาและการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อส่งเสริมความสามารถทางภาษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จีรนุช ภูทองเงิน. (2563). การพัฒนาการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ทวีศักดิ์ อุ่นจิตติกุล. (2558). คู่มือการเรียนการสอนภาษาไทยโดยวิธีแจกลูกและสะกดคำ. กรุงเทพฯ: วศิระ.
ทัศนีย์ ศุภเมธี. (2542). การสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏธนบุรี.
บันลือ พฤกษะวัน. (2538). มิติใหม่ในการสอนอ่าน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ปวีณ์นุช ศิริบูรณ์. (2564). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านและการเขียนสะกดคำพื้นฐานโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบแบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
ลัดดา สำรองพันธ์ และ วราพร เอราวรรณ์ (2562). การสังเคราะห์ปัญหาและแนวทางการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 42(4), 585-603.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). วิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 9). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วัชรพล วิบูลยศริน. (2561). วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิษณุ ทรัพย์สมบัติ. (2563). สรุปผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563. https://bet.obec.go.th/New2020/?p=2015.
วรรณี โสมประยูร. (2544). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
วรรณี โสมประยูร. (2553). เทคนิคการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้าวิชาการ.
สถาบันภาษาไทย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2559). คู่มือการสอนอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สถาบันภาษาไทย. (2565). คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ.
สมร อุ่นผ่อง และ ชาญชัย วงศ์สิรสวัสดิ์. (2563). รายงานผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานแนวคิดแบบสมดุลภาษา (Balanced literacy) และรูปแบบการเรียนรู้แบบซิปปา “CIPPA Model” เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียนมาตราไทย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 12(2), 234-265.
สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. (2560). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักทดสอบทางการศึกษา (2565). รายงานผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564. กรุงเทพฯ: อักษรไทย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2561). คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ 2561. โรงพิมพ์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ.
อัจฉรา ชีวพันธ์. (2554). ภาษาพาสอน เรื่องน่ารู้สำหรับครูภาษาไทย. กรุงเทพฯ: แอคทีฟพริ้นท์.
Johnson, D. W., & Johnson, R. T. (1999). Making Cooperative Learning Work. Theory into Practice. 38(2), 67-73.