อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กับ การเสริมสร้างสังคมสันติสุข
Main Article Content
บทคัดย่อ
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) เป็นอาสามัครที่ปฏิบัติงานอยู่อย่างหลากหลายในชุมชนและหมู่บ้าน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ทั้งนี้เนื่องจากภารกิจด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีขอบเขตกว้างขวางเกี่ยวข้องกับประชากรทุกกลุ่ม ปัจจุบันอาสาสมัครที่มีอยู่ในชุมชนท้องถิ่นมีหลายประเภท และปฏิบัติงานหลากหลายด้าน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข อาสาสมัครต่อต้านยาเสพติด อาสาสมัครคุมประพฤติ ฯลฯ ซึ่งอาสาสมัครเหล่านี้ ล้วนปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทั้งสิ้น การส่งเสริมให้กลุ่มอาสาสมัครเหล่านี้ได้เข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้เรียนรู้ถึงบทบาทหน้าที่ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานเพื่อการพัฒนาสังคมในท้องถิ่นของตนเองและเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในหมู่บ้านและชุมชนของตน จะทำให้เกิดเครือข่ายการทำงานในระดับพื้นที่ที่จะเป็นพื้นฐานพลังสำคัญในการพัฒนาสังคมไปสู่สังคมแห่งสันติสุขเอื้ออาทรน่าอยู่และยั่งยืน
บทความนี้นำเสนอ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กับการเสริมสร้างสังคมสันติสุข เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาต่อไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2544). ปฏิญญาอาสาสมัครไทย. [ออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.m-society.go.th/article_attach/861/1490.doc, 2544, [3 ก.ค.2565].
จิรพันธ์ กัลลประวิทย์. (2558). เอกสารประกอบการฝึกอบรมแกนนำอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
ฉัตรวรัญ องคสิงห์. (2550). อาสาสมัครสาธารณสุข ศักยภาพและบทบาทในบริบทสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงไป. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
ประวิตร พิสุทธิโสภณ. (2565). จิตอาสาคืออะไร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.oknation.net. [13 พฤษภาคม 2565]
พระปรัชญ์กรณ์ วิยาสิงห์, พระอธิการวิชัย นาหนองบัว และ ธนรัฐ สะอาดเอี่ยม. (2565). พลังบวรกับการสร้างชุมชนให้เข้มแข็งผ่านมิติแกลมอของชาวกูย ในเขตตำบลศรีสุข อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 4(1), 39-48.
พระไพศาล วิสาโล. (2550). ศาสตร์และศิลป์แห่งการจัดการความดี: ศึกษากรณีมูลนิธิฉือจี้. วารสารศูนย์คุณธรรม, 3(2), 10-42.
พระมหาวีรธิษณ์ อินทะโพธิ์ และ ธานี สุวรรณประทีป. (2565). ความปรารถนาของมนุษย์: บทวิเคราะห์ในมิติพระพุทธศาสนา. วารสารนวัตกรรมการจัดการศึกษาและการวิจัย, 4(1), 29-38.
พระมหาศุภวัฒน์ บุญทอง, กฤติยา ถ้ำทอง และ ชำนาญ เกิดช่อ. (2565). การปรับสมดุลอินทรีย์ 5 ตามธาตุทั้ง 4 ในทางพระพุทธศาสนา. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(2), 760-775.
พิสิฐ โอ่งเจริญ. (2563). รูปแบบการเพิ่มประสิทธิผลในการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) เพื่อการพัฒนาชุมชน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, 9(1), 65-75.
เพชรภี ปิ่นแก้ว. (2554). จิตอาสา สุขสร้างง่ายๆ แค่ลงมือทำ. กรุงเทพฯ: Iam Bookazine.
นเพ็ญ พรินทรากูล. (2565). การแก้ไขปัญหาของชุมชนด้วยกระบวนการวิจัยท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดลำพูน. วารสารศิลปการจัดการ, 6(1), 374-387.
ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2534). อาสาสมัครกับการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมพร เทพสิทธา. (2546). การเดินตามรอยพระยุคลบาท เศรษฐกิจพอเพียง ช่วยแก้ปัญหาความยากจนและการทุจริต. กรุงเทพฯ: สภายุวพุทธิกสมาคมแห่งชาติ.
สรณีย์ สายศร. (2558). การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 22(2), 18-47.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยนาท. (2565). ความรู้เกี่ยวกับ อพม.และผลการดำเนินงาน. สืบค้นเมือ 18 กรกฎาคม 2565 จาก, http://www.chainat.m-society.go.th/ volunteers.htm
Damnoen, P. S., Siri, P., Supattho, P. S., & Kaewwilai, K. (2021). The Development of Student Characteristics in According to the Nawaluk Framework of the Buddhist integration of Buddhapanya Sri Thawarawadee Buddhist College. Asia Pacific Journal of Religions and Cultures, 5(2), 126–135.
Susan J. Ellis & Katarines H. Noyes. (2003, August 26). Volunt/ar/eer/ism: What's the Difference?. Retrieved from http://www.energizeinc.com/art/1vol.html [3 ก.ค.2565].
Tan, C. C., & Damnoen, P. S. (2020). Buddhist Noble Eightfold Path Approach in the Study of Consumer and Organizational Behaviors. Journal of MCU Peace Studies, 8(1), 1-20.
UNV. (2004). Guidance Note on Volunteer Infrastructure. New York: McGraw Hill.