การสร้างผลงาน 3 มิติ ภายใต้หัวข้อ “Bondage”
คำสำคัญ:
จองจำ, กาย, จิต, มนุษย์บทคัดย่อ
แนวคิดและกระบวนการการเขียนบทความวิจัยนี้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงาน “Bondage” เป็นกระบวนการที่ผสมผสานระหว่างการศึกษาและการสร้างสรรค์ในการสร้างผลงานที่มีความหมาย ในเรื่องของความเชื่อมโยงระหว่างกายและจิตของมนุษย์โดยมุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และโปรแกรม 3 มิติ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานเดิมที่มีลักษณะ 2 มิติ ให้อยู่ในรูปแบบ 3 มิติ ที่ได้สะท้อนความสมจริงของมิติมากยิ่งขึ้น โดยสื่อถึงดินแดนแห่งการผูกพันระหว่างกายและจิตมนุษย์
บทความวิจัยนี้เสนอความเป็นรูปธรรมของ “กายมนุษย์” และ “จิตมนุษย์” โดยชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างสองด้านและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความผูกพันระหว่างกายและจิตมนุษย์ โดยกล่าวถึงการยึดติด ในร่างกายเป็นสัญลักษณ์และขอบเขตโครงสร้างภาวะมนุษย์ สร้างพันธนาการจองจำ เสรีภาพจากภายในจิตวิญาณของความเป็นมนุษย์ ซึ่งแม้แต่ตนเองก็มิอาจหยุดยั้งสิ่งที่เกิดขึ้น
References
Chantavanich, Supang. (2011). Sociological Theories, (4th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Ed.Julius Wiedemann. (2011). Illustration now 4. Cologne: Taschen.
Jean Louis Ferrier. (2002). Art of the 20th century. Milan: Lombrada.
Kaewkangwal, Sriroan. (2001). Theories of Personality Psychology, (9th ed.). Bangkok: Mo Chao Ban Publishing.
Nimsenor, Chaluad. (1991). Elements of Art. Bangkok: Thai Watthana Panich.
Nopaket, Ratcharee. (2011). General Psychology. Bangkok: Thammasat University Press.
Quigley, T. (2013). “Eye and Mind”. The New School Summary: Maurice Merleau-Ponty
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว