การศึกษาตามแนวทางขององค์กรพุทธฉือจี้
แนวคิดและการจัดการของโรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่
คำสำคัญ:
องค์กรพุทธฉือจี้, แนวคิดและการจัดการศึกษา, โรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์อยู่ 3 ประการได้แก่ 1) เพื่อศึกษาประวัติและแนวคิดขององค์กร พุทธฉือจี้ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดและการจัดการศึกษาของโรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่ และ 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดและการจัดการศึกษาของโรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่ จากการศึกษาพบว่า องค์กรพุทธฉือจี้ก่อตั้งขึ้น เมื่อปี ค.ศ.1966 ณ ไต้หวันโดยท่านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน ซึ่งแนวคิดสำคัญที่ขับเคลื่อนภารกิจขององค์กร คือ อุดมการณ์พระโพธิสัตว์ ส่วนแนวคิดและการจัดการศึกษาของโรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่ พบว่ามีหลักปรัชญาการศึกษาที่สำคัญคือ พรหมวิหาร 4 หรืออัปปมัญญา 4 ได้แก่ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา เมื่อวิเคราะห์แนวคิดและการจัดการศึกษาของโรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่ 4 ด้าน ล้วนยึดโยงกับแนวคิดพระโพธิสัตว์ กล่าวคือ 1) ผู้เรียนเป็นดั่ง “พระโพธิสัตว์น้อย” 2) ผู้สอนเปรียบเสมือน “พระโพธิสัตว์” 3) เนื้อหาอาจเทียบได้กับ “อุปายวิธี” ซึ่งเป็นเครื่องมือในการสอนธรรมของพระโพธิสัตว์และยังเป็นวิธีการที่ “พระโพธิสัตว์น้อย” ใช้เพื่อหยั่งเห็นความจริง ความดี ความงาม และ4) กระบวนการจัดการเรียนการสอนเปรียบเหมือน “โพธิสัตวมรรค”
Downloads
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
ประเวศ วะสีและคณะ. (2552). ธรรมสัญจรสู่มูลนิธิพุทธฉือจี้. กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบ้าน.
พระเดิมแท้ ชาวหินฟ้า, รัศมี กฤษณมิษ, และสุวิดา แสงสีหนาท. (2550). การศึกษาแนวทางการปลูกจิตสำนึกคุณธรรมผ่านระบบการศึกษา: กรณีศึกษามูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวัน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน).
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2545). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 10).กรุงเทพมหานคร: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์ จำกัด.
พระไพศาล วิสาโล. (2550). ศาสตร์และศิลป์แห่งการจัดการความดี: ศึกษากรณีองค์กรพุทธฉือจี้. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์คุณธรรม.
มูลนิธิฉือจี้ประเทศไทย. (2549). โครงการช่วยชีวิต: การบริจาคไขกระดูก. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิฉือจี้ประเทศไทย.
โรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่. (2556). รายงานประจำปีของสถานศึกษา โรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่ (เอกสารอัดสำเนา). เชียงใหม่: โรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่.
ศุภรัตน์ รัตนมุขย์. (2550). ระบบการบริหารจัดการงานอาสาสมัคร ศึกษากรณี: มูลนิธิพุทธฉือจี้ ไต้หวัน. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์คุณธรรม.
สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2550). พุทธศาสนามหายาน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ศยาม.
อำพล จินดาวัฒนะ. (2549). จิตอาสาพลังสร้างโลก: บทเรียนรู้จากขบวนการพุทธฉือจี้ไต้หวันขบวนการที่เน้นหัวใจของความเป็นมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์คุณธรรม.
ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน. (2553). จิ้ง ซือ อวี่ 1 วาทะธรรม ธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน (คณะกรรมการแปลมูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวันในประเทศไทย, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวันในประเทศไทย.
แผนกเลขานุการ มหาวิทยาลัยฉือจี้. (2555). วิถีครูผู้ประเสริฐ วาทะธรรมด้านการศึกษา ธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยน (ชาญ ธนประกอบ, ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวันในประเทศไทย.
พระสุคำ สุยา. (2553). การบริหารโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนในอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ (การศึกษาอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย).
สุพรรณี คงดีได้. (2556). การดำเนินงานเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ฉือจี้เชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
Deitrick, Jim. (2007). Engaged Buddhism In Damien Keown & Charles S. Prebish, eds. Enclyclopedia of Buddhism. London and New York: Routledge.
Huang, C. Julia. (2009). Charisma and compassion: Cheng Yen and the Buddhist Tzu Chi Movement. Cambridge: Harvard University Press.
Madsen, Richard. (2007). Democracy’s Dharma: Religious Development and Political Renaissance in Taiwan. Berkeley, Los Angeles: University of California Press.
Yao, Yu-Shuang. (2012). Taiwan's Tzu Chi as Engaged Buddhism: Origins, Organization, Appeal and Social Impact. Boston: Global Oriental.
Gombrich, Richard & Yao, Yu-Shuang. (2013). A Radical Buddhism for Modern Confucians: Tzu Chi in Socio-Historical Perspective. Buddhist Studies Review, 30(2), 237–259.
Jones, Charles B. (1996). Buddhism in Taiwan: A Historical Survey (Ph.D. dissertation, University of Virginia).
Pagel, Ulrich. (1992). The "Bodhisattvapitaka": Its doctrines, practices and their position in Mahayana literature (Ph.D. thesis, SOAS University of London, England).
ฉือจี้. (ม.ป.ป.). ปฐมบทมูลนิธิพุทธฉือจี้ "เพื่อพุทธศาสนา เพื่อมวลชีวัน". สืบค้นจาก https://www.tzuchithailand.org/th/index.php/about-us/tzu-chi-foundation/global-tzu-chi-history
ฉือจี้. (ม.ป.ป.). ภารกิจการกุศล. สืบค้นจาก https://tzuchithailand.org/th/index.php/about-us/tzu-chi-foundation-in-thailand/tzuchi-mission/105-charity
ฉือจี้. (ม.ป.ป.). ภารกิจการศึกษา. สืบค้นจาก https://tzuchithailand.org/th/index.php/about-us/tzu-chi-foundation-in-thailand/tzuchi-mission/107-education
ฉือจี้. (ม.ป.ป.). ภารกิจบรรเทาทุกข์ระหว่างประเทศ. สืบค้นจาก https://tzuchithailand.org/th/index.php/about-us/tzu-chi-foundation-in-thailand/tzuchi-mission/109-international-relief
ฉือจี้. (ม.ป.ป.). ภารกิจวัฒนธรรมอันดีงาม. สืบค้นจาก https://tzuchithailand.org/th/index.php/about-us/tzu-chi-foundation-in-thailand/tzuchi-mission/108-humanistic-culture
ฉือจี้. (ม.ป.ป.). ภารกิจอาสาสมัครชุมชน. สืบค้นจาก https://tzuchithailand.org/th/index.php/about-us/tzu-chi-foundation-in-thailand/tzuchi-mission/112-volunteers
นิติยาภรณ์และนครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (ม.ป.ป.). กองพล 93 ของกองทัพจีนคณะชาติในภาคเหนือของไทย. สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=กองพล_93_ของกองทัพจีนคณะชาติในภาคเหนือของไทย
พระไพศาล วิสาโล. (2557). ฉือจี้ ชุมชนคนทำดี. สืบค้นจาก https://www.visalo.org/article/budtZuchi.htm
โรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่. (ม.ป.ป.). ประวัติโรงเรียน. สืบค้นจาก http://tzuchi.ac.th/th/index.php/typography/2014-06-18-01-52-50
tzuchithai24. (2017). "ความรู้คู่คุณธรรม" โรงเรียนฉือจี้เชียงใหม่. สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=RhNtfqufIzk
tzuchithai24. (2016). รายการทีวีสีขาว 1 วันในโรงเรียนคุณธรรม ฉือจี้เชียงใหม่. สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=GN9fuEunGUg&t=367s
Tzu Chi Foundation. (2009). Tzu Chi Missions. Retrieved from http://www.tzuchi-org.tw/en/index.php?option=com_content&view=article&id=293&Itemid=283&lang=en
Tzu Chi Foundation. (2017). Tzu Chi Q&A : A Glimpse into the Missions and Spirit of Tzu Chi. Retrieved from https://drive.google.com/file/d/0B_SRS2IuY6hDTFE2bFR6bVlzZDg/view
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของศูนย์พุทธศาสน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับศูนย์พุทธศาสน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว