Producing Amulets of Value in Thai Society

Authors

  • อุดม จันทิมา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Keywords:

Production of amulets of value, Thai society

Abstract

Amulets were developed from votive tablets in the image of the Gautama Buddha after His lifetime in order to commemorate the Buddha, the Four Holy Places of Buddhism, to propagate the Buddhist Doctrines, to accumulate good deeds and merits, and to be spiritual anchors for Buddhist people. The conception of votive tablet productions has changed according to different social and historical contexts, culminating in what is known today as “amulets” – collection items of worship with increasing popularity, leading to exchanges and sales which further increased the items’ market and exchange values. These objects of economic value, which have entirely different conceptions and productions from the past, gave rise to the term “Buddhist commerce”. This research finds three problematic areas surrounding the production of amulets in Thai society. They include the formats of amulet production, the assignation of values to amulets, and the control regulations of amulet productions. It proposes that in order to produce amulets of value in Thai society, three main factors need to be given special importance. They include: (1) groups or organizations involved in the production of amulets of value; (2) practical standards for producing amulets of value; and (3) practical guidelines to support the production of amulets of value. These three factors need to be systematically integrated; that is, individuals or groups involved in the production of amulets of value need to foster understanding of and participation in the framework of the production, and they need to act according to the terms of the framework in order to ensure the success of creating a true item of value and worship in Thai society.

Downloads

Download data is not yet available.

References

หนังสือ/บทความ/งานวิจัย

เกริกเกียรติ ไพบูลย์ศิลป์. ๒๕๔๗. กำเนิดและวิวัฒนาการของพระเครื่องในสังคมไทยตั้งแต่สมัยก่อนกรุงศรีอยุธยาถึงปัจจุบัน. ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชายนำ ภาววิมล. ๒๕๓๗. พุทธพาณิชย์ : ผลกระทบจากการใช้สื่อสารมวลชนในการโฆษณาประชาสัมพันธ์เพื่อจำหน่ายพระเครื่องที่มีต่อทัศนคติ และความเชื่อของพุทธศาสนิกชนในเรื่องสัญลักษณ์ของศาสนา. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี. ๒๕๓๘. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์. ๒๕๕๕. ประวัติศาสตร์ผ่านพระเครื่อง : คติความเชื่อและพุทธพาณิชย์. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ตรียัมปวาย. ๒๕๒๐. ปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ เล่ม ๑ : พระสมเด็จ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์คลังวิทยา.

เทพชู ทับทอง. ๒๕๐๘. พระเครื่องและพระบูชา พระกรุเก้าวัด. ธนบุรี : ป. พิศนาคะการพิมพ์.

ธนกฤต ลอยสุวรรณ. ๒๕๔๖. การศึกษาคติความเชื่อของชุมชนโบราณสมัยทวารวดีในลุ่มแม่นํ้าแม่กลองและท่าจีน : กรณีศึกษาจากพระพิมพ์ดินเผา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธีรโชติ เกิดแก้ว. ๒๕๕๔. การศึกษาเชิงวิเคราะห์พุทธคุณในสื่อสิ่งพิมพ์พระเครื่อง. สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

นิติพันธุ์ ชื่นชอบ. ๒๕๕๔. การพัฒนาระบบการตรวจนับสินค้าสำหรับธุรกิจตลับพระ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิธินันท์ วิภูศิริ. ๒๕๕๔. พฤติกรรมการเช่าบูชาพระเครื่องในศูนย์พระเครื่องห้างสรรพสินค้าพันธุ์ทิพย์พลาซ่า สาขางามวงศ์งาน. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บทบรรณาธิการ. ๒๕๖๐. สร้างพระเครื่อง : อย่างไรเป็นบุญ อย่างไรเป็นบาป. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม) : ๗-๙.

บุศรา สว่างศรี. ๒๕๔๙. พุทธพาณิชย์ : พระเครื่อง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พรทิพย์ นิธิโกสินทร์. ๒๕๕๓. วงจรชีวิตผลัตภัณฑ์และรูปแบบการดำเนินธุรกิจพระเครื่องในตลาดพระเครื่ององค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พระจิรวัฒน์ ภทฺทาวุโธ. ๒๕๕๘. ศึกษาวิเคราะห์พระเครื่องในฐานะเป็นสื่อสัญลักษณ์แทนพระรัตนตรัย. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.พระมหาเชิด เจริญรัมย์. ๒๕๔๑. พระเครื่องกับสังคมไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีทัศนะของนักวิชาการพุทธศาสนาในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหิดล.

พิริยะ ไกรฤกษ์. ๒๕๑๘. ประติมากรรมสมัยทวารวดีที่บริเวณถํ้าเขางูจังหวัดราชบุรี : ศิลปะและโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร.

ยอร์ช เซเดส์. ๒๕๒๖. ตำนานพระพิมพ์. แปลโดย หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล. ๒๕๒๖. ตำนานอักษรไทย ตำนานพระพิมพ์การขุดค้นที่พงตึก ศิลปะไทยสมัยสุโขทัย ราชธานีรุ่นแรกของไทย. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา.

ยอร์ช เซเดส์. ๒๕๐๗. ตำนานพระพิมพ์. กรุงเทพมหานคร : ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์.

รอบทิศ ไวยสุศรี. ๒๕๕๕. การศึกษาวิเคราะห์พระเครื่องในฐานะเป็นกุศโลบายในการปฏิบัติธรรม. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รัศมี เตชะธาตากุล. ๒๕๓๕. ค่านิยมในการสะสมพระพิมพ์ (พระเครื่อง). สารนิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ลา ลูแบร์. ๒๕๑๐. ราชอาณาจักรสยาม เล่ม ๑. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร. พระนคร : สำนักพิมพ์ก้าวหน้า.

ศรีศักร วัลลิโภดม. ๒๕๓๗. พระเครื่องในเมืองสยาม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน.

ศศิวิมล สิทธิโชค. ๒๕๕๗. ปัญหาในการควบคุมการจัดสร้างและการเช่าบูชาวัตถุมงคลตามกฎหมายที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ ปรีดี พนมยงค์ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ศิริพร ทัศนศรี. ๒๕๕๘. หลักความเชื่อทางศาสนาที่มีผลต่อส่วนประสมทางการตลาด : กรณีการเช่าวัตถุมงคล. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยเซ็นต์จอห์น.

สงคราม สุเทพากุล. ๒๕๕๖. พุทธพาณิชย์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย. ๒๕๖๐. ประวัติ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.samakomphra.com/about-us/history/ [๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๐].

สรพล โศภิตกุ. ๒๕๔๐. สุดยอดเหรียญพระเครื่อง. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติชน.

สุรพร ถาวรพานิช. ๒๕๖๐. เมืองไทย เมืองพุทธ: การทำพระเครื่องให้เป็นสินค้า ธุรกิจพระเครื่อง. เศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.siamintelligence.com/thailand-buddhistland-and-amulet-business/[๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๐].

สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์,หม่อมหลวง. ๒๕๒๘. การศึกษาพระพิมพ์ภาคใต้ของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์,หม่อมราชวงศ์. ๒๕๓๐. พระพุทธปฏิมาในพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพมหานคร : อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊พ จำกัด.

อุทัย ไชยานนท.์ ๒๕๔๖. วรรณกรรมกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑-๒-๓. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท สำนักพิมพ์น้ำฝน จำกัด.

อำนาจ ยอดทอง. ๒๕๕๗. พุทธศิลป์กับการนำไปประดับตกแต่งโรงแรม : ความเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม?. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม, ๒๕๕๗).

สัมภาษณ์

พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม,ดร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์. ภาควิชาพุทธศาสนาและปรัชญา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย. สัมภาษณ์, ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑.

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี). ประธานมูลนิธีวิมุตตยาลัย. สัมภาษณ์, ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๐.

พระมหาสุรศักดิ์ ปจฺจนฺตเสโน,ดร. รองคณบดีคณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สัมภาษณ์, ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๑.

วัชระ งามจิตรเจริญ. ศาสตราจารย์ ดร., ภาควิชาประวัติศาสตร์ปรัชญาและวรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สัมภาษณ์, ๙ พฤศจิกายน ตุลาคม ๒๕๖๐.

สิปป์บวร แก้วงาม. ผู้อำนวยการสำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม, สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. สัมภาษณ์, ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑.

Downloads

Published

2018-12-26

How to Cite

จันทิมา อ. (2018). Producing Amulets of Value in Thai Society. Journal of Buddhist Studies Chulalongkorn University, 25(3), 27–59. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jbscu/article/view/160984

Issue

Section

Research Articles