The Management Model of Phra Pariyattidhamma School. Pali Section in the Sangha Administrative Area 5

Authors

  • พระศรีรัตนมุนี (ขวัญรัก เกษรบัว) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์

Keywords:

School administration and management, Sangha Administrative Area 5, Proper management approach

Abstract

This research aims to 1) examine the current states of management of the Phra Pariyattidhamma School, Pali Section, in the Sangha Administrative Area 5; 2) study the management approaches of the Phra Pariyattidhamma School, Pali Section, in the Sangha Administrative Area 5; and 3) propose a management model for the Phra Pariyattidhamma School, Pali Section, in the Sangha Administrative Area 5. The research fi ndings are as follows: 1) Currently the administration and management of the Phra Pariyattidhamma School, Pali Section, include teaching personnel, teaching and evaluation guidelines that have simply a little change. It also fi nds that the learning method is mainly based on memorization of the Pali Scripture; 2) The management approaches include improvements in the methods of measurement and evaluation. The learning process needs to emphasize critical thinking through the use of diverse and modern teaching media; 3) In terms of curriculum development, contents should be increased for regular programs, and new programs should be developed for senior monks. Training centers for teaching personnel should be established. More students in elementary education, non-formal and informal education, the general public, as well as senior monks, should be encouraged to join the programs. The use of information technology in teaching should be increased, scholarships and other sources of funding should be established. Publicity and a multilateral management should be encouraged as well.

Downloads

Download data is not yet available.

References

จารุวรรณ ธรรมวัตร. ๒๕๔๕. รวมบทคัดย่อวิทยานิพนธ์และรายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ สาขาวิชาภาษาไทยและสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๒๙-๒๕๔๔. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นภมณฑล สิบหมื่นเปี่ยม และวลัยพร ศิริภิรมย์. ๒๕๔๕. แนวทางการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ : รายงานการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี.

บุรทิน ขำภิรัฐ. ๒๕๓๙. สภาพและปัญหาของการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในสำนักเรียนส่วนกลาง. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประดิษฐ์ ดีเลิศ. ๒๕๕๑. วิเคราะห์การจัดการศึกษาของคณะสงฆ์ไทยตามพระราชปณิธานของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: กรณีศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาและโรงเรียนการกุศลวัดในเขตเทศบาลนครขอนแก่น. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูโสภิตธรรมประยุต (อุดม สงสุระ), วิชัย วงษ์ใหญ่, ไพศาล หวังพานิช และสงวนพงศ์ ชวนชม. ๒๕๕๖. “รูปแบบการบริหารการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมคุณภาพโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” วารสารรมยสาร ราชภัฏบุรีรัมย์. ๑๑(๒).

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). ๒๕๓๗. พุทธศาสนากับการพัฒนามนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหธรรมิก.

พระธนดล นาคสุวณฺโณ (นาคพิพัฒน์). ๒๕๕๐. การบริหารกิจการคณะสงฆ์จังหวัดบุรีรัมย์. กรุงเทพฯ : มหาจุฬา-ลงกรณราชวิทยาลัย.

พระนิมิตร กลิ่นดอกแก้ว. ๒๕๔๙. สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี ของสำนักศาสนศึกษา ในจังหวัดนครสวรรค์. ลพบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

พระมหาบัณฑิต ปณฺฑิตเมธี. ๒๕๕๒. การบริหารสำนักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสุรสิทธิ์ กระดานลาด. ๒๕๔๗. สภาพการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม: ศึกษา เฉพาะโรงเรียนพระปริยัติธรรมอิสาณราชวิทยานุสรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. การศึกษาค้นคว้า อิสระ กศ.ม. (สังคมศึกษา). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พระมหาสุข สุวีโร (มีนุช). ๒๕๓๙. ความสนใจต่อการศึกษาพระปริยัติธรรมของพระสงฆ์ : ศึกษากรณีพระนิสิตมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พระอธิการวิชาญ นาคฤทธิ์. ๒๕๔๖. การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคณะสงฆ์อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

มงคลชัย ศรีสะอาด, กาญจนา เงารังษี, สมบัติ นพรัก และสำราญ มีแจ้ง. ๒๕๕๕. “รูปแบบการบริหารงานสำนักเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-แผนกบาลี” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ๑๔(พิเศษ): ๕๖-๗๒.

รุ่ง แก้วแดง. ๒๕๔๗. ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มติชน.

ศิริกาญจนา อิศรางกูร ณ อยุธยา. ๒๕๔๕. เหตุปัจจัยที่สัมพันธ์กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เขตการศึกษา ๑. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

สุภาพร มากแจง. ๒๕๔๓. การศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์. กรุงเทพฯ : กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ.

อรรณพ โยนิจ. ๒๕๔๙. การใช้หลักพุทธธรรมในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา อำเภอเมืองเชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Downloads

Published

2016-12-27

How to Cite

(ขวัญรัก เกษรบัว) พ. (2016). The Management Model of Phra Pariyattidhamma School. Pali Section in the Sangha Administrative Area 5. Journal of Buddhist Studies Chulalongkorn University, 23(3), 69–84. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jbscu/article/view/156878

Issue

Section

Research Articles