การพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนเกษตรกรรมอินทรีย์ตามแนว พุทธธรรมเพื่อชุมชนที่ยั่งยืนในพื้นที่ภาคกลางตอนบน
Keywords:
The development of quality of life in local communities, Organic Agriculture, the Buddhist WayAbstract
In the past, theorganic farming community in the central planes used a lot of chemicals in agricultural productions, which hascaused both health problems and debts since farmers were spending beyond their means.However, after shifting to organic fertilizers, the qualities of life among farmer improved while their debts decreased. The application of the principle of Dhammasrefers to using knowledge to improve thequality of life through moderate consumption in accordance with the principle of Bhojanemattaññuta – the four principles of development. Bhojanemattaññuta means an understanding of moderate consumption following the Eightfold Noble Path. The goal of developing the quality of life of agriculturists according to the principles of Buddhadhamma is to build up a support system of knowledge distribution for agriculturists so that they have a permanent and sustainable understanding of organic agriculture.
Downloads
References
กรมวิชาการเกษตร. ๒๕๔๓. มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ของประเทศไทย (Standards for Organic Crop Production in Thailand). กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
คณะกรรมการบริหาร มกท. ๒๕๕๕. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic Standards). กรุงเทพฯ : สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.).
คณะกรรมการพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ. ๒๕๕๑. เกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ : สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). ๒๕๔๒. ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). ๒๕๔๘. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ : เอส.อาร์ พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). ๒๕๔๘. เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ ๙. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). ๒๕๔๙. พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๓๙. พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๓๗. พระไตรปิฎก พร้อมอรรถกถาแปล ชุด ๙๑ เล่ม. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
วิริยะ คล้ายแดง. ๒๕๔๙. เกษตรอินทรีย์นโยบายภาครัฐ. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
สมโภช ฐิติญาโณ (ศรีพันธ์), พระมหา. ๒๕๓๕. ศึกษาวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์ตามแนวพระไตรปิฎก. วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร. ๒๕๕๔. ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรปี ๒๕๕๔ และแนวโน้มปี ๒๕๕๕. กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร.
สุธิดา วงษ์อนันต์. ๒๕๕๑. ปลูกข้าวในนาปลูกคุณค่าในชีวิต. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ Organic Books.
เอกสารอีเล็กทรอนิกส์
กรีนเนท. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.greennet.or.th/article/411. (เข้าถึงวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๗).
Markus, Arbenz. 2012. The organic Movement worldwide : Directory of ifoam Affi liates, 40 Years of IFOAM, (Published in Germany by IFOAM), p. 8 . [Online] Available from : www.ifoam.org/application. (Accessed on 18 January 2014)
สัมภาษณ์
1. นายสำเริง แย้มโสภี-นางวัชรินทร์ แย้มโสภี (บ้านเลขที่ ๖๑ หมู่ที่ ๑ ตำบลบ้านใหญ่ อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) สัมภาษณ์ วันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๖
2. นายบุญส่ง อังคาสัย (บ้านเลขที่ ๑๑๘ หมู่ที่ ๕ ตำบลบ้านยาง อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี) สัมภาษณ์ วันที่ ๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
3. นางนงนุช คำคง (บ้านเลขที่ ๕๕/๓ หมู่ที่ ๒ ตำบลบ้านแห อำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง) สัมภาษณ์ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของศูนย์พุทธศาสน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับศูนย์พุทธศาสน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว