อิทธิพลวรรณกรรมพุทธศาสนาที่ปรากฏในพงศาวดารสุโขทัยและอยุธยา กรณีศึกษา : พระราชพงศาวดารเหนือ

Main Article Content

ชนินทร์ ผ่องสวัสดิ์

บทคัดย่อ

การศึกษาประวัติศาสตร์สุโขทัยและอยุธยา มีหลักฐานอยู่หลายชิ้น แต่พระราชพงศาวดารเหนือมีความน่าสนใจด้านเนื้อหาที่มีลักษณะเป็นตำนานที่ปรากฏเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา เช่น เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า พระสาวก และบุคคลสำคัญในสมัยพุทธกาล ปรากฏขึ้นร่วมกับเหตุการณ์ที่ในพระราชพงศาวดารเหนือระบุว่าอยู่ในสมัยสุโขทัยและอยุธยา ซึ่งล้วนสะท้อนให้เห็นว่า ผู้เรียบเรียงพงศาวดารเป็นผู้มีความรู้ทางพุทธศาสนาเป็นอย่างดี สามารถนำเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนามาใส่ไว้ในพงศาวดารได้ราวกับเป็นเรื่องเดียวกัน บทความนี้เจาะจงศึกษาเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาที่ปรากฏในสมัยสุโขทัยและสมัยอยุธยาที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารเหนือ เพื่อแสดงให้เห็นว่าพงศาวดารนอกจากจะเป็นแหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์แล้ว ยังมีคุณค่าเป็นแหล่งคลังความรู้และคติความเชื่อทางพุทธศาสนาอีกด้วย  

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกวรรณ ทองตะโก. (2553). พงศาวดาร. ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2564, จากhttps://1th.me/OBlDI

กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. (2542). ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

พระพรหมคุณาภรณ์. (ม.ป.ป.). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=%BA%D8%AD#find4

พระโพธิรังสี. (2554). เรื่องจามเทวีวงศ์ พงศาวดารเมืองหริภุญไชย ทั้งภาษาบาลีและคำแปล. กรุงเทพฯ: ศรีปัญญา

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (ม.ป.ป.). จันทกุมารชาดก. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก 84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=28&siri=19

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เตมียกุมารชาดก. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/atita/m_siri.php?B=28&siri=13

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. มหากัสสปเถรคาถา. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/attha/m_siri.php?B=26&siri=398

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. มหาชนกชาดก. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/atita/m_siri.php?B=28&siri=14

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เวสสันดรชาดก. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/atita/m_siri.php?B=28&siri=22

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สุบินสูตร. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/attha/m_siri.php?B=22&siri=196

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วิมานวัตถุ. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/read/?index_26

มหามกุฎราชวิทยาลัย. (ม.ป.ป.). อรรถกถากุมมาสปิณฑชาดก. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564,

จาก https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=27&i=1107

มหามกุฎราชวิทยาลัย. อรรถกถาคาถาธรรมบท ยมกวรรคที่ 1 เรื่องภิกษุชาวเมืองโกสัมพี. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2561, จาก https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=11&p=5

มหามกุฎราชวิทยาลัย. อรรถกถาภูริทัตตชาดก. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=28&i=687

มหามกุฎราชวิทยาลัย. อรรถกถามหากัสสปเถรคาถา. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=26&i=398

มหามกุฎราชวิทยาลัย. อรรถกถา มหาวิภังค์ ปฐมภาค เวรัญชกัณฑ์. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=1

มหามกุฎราชวิทยาลัย. อรรถกถาสามัญญผลสูตร. ค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2564, จาก https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=9&i=91&p=1

รัตติกาล ศรีอำไพ. (2551). พงษ์-พงศ์. ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2564, จาก https://1th.me/c9nVw

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2553). ร้อนอาสน์-เก้าอี้ร้อน. ค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2564, จากhttp://legacy.orst.go.th/ ?knowledges=ร้อนอาสน์-เก้าอี้ร้อน-15