อำนาจและทรัพยากรทางการเมือง : แรงจูงใจในการต่อสู้เพื่อแย่งชิงอำนาจทางการเมืองสมัยอยุธยา พ.ศ.1893-2310
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อศึกษาคุณลักษณะของอำนาจ ทรัพยากรทางการเมือง การใช้ การได้มาและการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรทางอำนาจ อันเป็นแรงจูงใจในการต่อสู้ เพื่อแย่งชิงอำนาจทางการเมืองในสมัยอยุธยา วิธีการศึกษาใช้การศึกษาตามแนวทางวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ เช่น พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เอกสารตำราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การได้มาซึ่งอำนาจทางการเมือง ได้มาจากทรัพยากรทางอำนาจ ได้แก่ ความเป็นขุนนางชั้นสูง ความเป็นเชื้อพระวงศ์ กำลังไพร่พล และความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ซึ่งอาจรวมถึงอำนาจ วาสนา บุญญาและบารมีอีกด้วย
Article Details
References
กรมศิลปากร. (2514). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา.
กรมศิลปากร. (2553). พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา.
กำพล จำปาพันธ์. (2559). อยุธยา : จากสังคมเมืองท่านานาชาติสู่มรดกโลก. นนทบุรี : มิวเซียมเพรส.
ควอริช เวลส์. (2527). การปกครองและการบริหารของไทยสมัยโบราณ. กาญจนี ละอองศรี สมเกียรติกุล และยุพา ชุมจันทร์ (แปล). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2562). ทรัพยากรทางการเมือง. ผู้จัดการออนไลน์ ค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2562 จาก www.mgronline.com/dailiy/detail/95500000/9557.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (บรรณาธิการ). (2547). อยุธยา : Discovering Ayutthaya. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ณรงค์ พ่วงพิศ. (2522). “บทความวิเคราะห์ว่าด้วยการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองของผู้นำไทยระหว่าง พ.ศ.1893-2310”. วารสารประวัติศาสตร์. 4 (2) พฤษภาคม-สิงหาคม : 1-33.
ณรงค์ สินสวัสดิ์. (2539). การเมืองไทย : การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : วัชรินทร์การพิมพ์.
ดำเนิร เลขะกุล, พลโท. (2530). การสืบสันตติวงศ์สมัยอยุธยา”. ศิลปวัฒนธรรม. 9 (2) ธันวาคม : 32-55.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2543). การเมืองไทยสมัยพระนารายณ์. กรุงเทพฯ : ศิลปวัฒนธรรม.
บุษกร กาญจนจารี. (2544). “ปัญหาการควบคุมกำลังคนและแง่หนึ่งของการเมือง เศรษฐกิจ ในปลายสมัยอยุธยาตอนปลาย” ใน เปลวไฟเลื่อมลายนาค. หน้า 1-37. บุษกร กาญจนจารี (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : อมรินทร์พรินติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ปรีชา หงส์ไกรเลิศ และคณะ. (2558). สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2528). “การศึกษารัฐศาสตร์แนวทางอำนาจ” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ หน่วยที่ 10. หน้า 455-498. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2531). รัฐศาสตร์เชิงประจักษ์. กรุงเทพฯ : ธนวิชช์การพิมพ์.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2558). พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2559). พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 3. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มานพ ถาวรวัฒน์สกุล. (2536). ขุนนางอยุธยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยีน ชาร์ป. (2529). อำนาจและยุทธวิธีไร้ความรุนแรง. ชัยวัฒน์ สถาอานันท์และคมสัน หุตะแพทย์ (แปล). กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2561). “ความชอบธรรมทางการเมือง (Political Legitimacy) ของผู้ใช้อำนาจรัฐ” ผู้จัดการออนไลน์ ค้นเมื่อ 6 ธันวาคม 2561. จาก www.manager.co.th/Daily/viewnews.aspx? NewsID=9490000028434
วราภรณ์ ทินานนท์. (2523). การค้าสำเภาของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริพร สุเมธารัตน์. (2553). ประวัติศาสตร์ไทยสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
สมสมัย ศรีศูทรพรรณ. (จิตร ภูมิศักดิ์). (2561). โฉมหน้าศักดินาไทย. กรุงเทพฯ : ไทยควอลิตี้บุ๊คส์.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2532). สังคมวิทยาการเมือง. กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาการพิมพ์.
สายชล วรรณรัตน์. (2525). “เศรษฐกิจและสังคมไทยในสมัยปลายอยุธยา”. วารสารธรรมศาสตร์. 11 (3) กันยายน : 6-27.
สายชล สัตยานุรักษ์. (2546). พุทธศาสนากับความคิดทางการเมืองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พ.ศ.2325-2352). กรุงเทพฯ : มติชน.
สุจิต บุญบงการ. (2519). “อำนาจทางการเมืองของผู้นำทหารไทย” ใน สมบัติ จันทรวงศ์ และรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. รักเมืองไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สุรวุฒิ ปัดไธสง. (2536). รายงานการวิจัยเรื่องอำนาจและทรัพยากรทางการเมือง : ศึกษากรณีจอมพล ป. พิบูลสงคราม. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
อคิน รพีพัฒน์, ม.ร.ว. (2527). สังคมไทยในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ.25325 - 2416. ม.ร.ว.ประกายทอง สิริสุข และพรรณี ฉัตรพลรักษ์ (แปล). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อังสุนี อุดมพาณิชย์. (2523). “การค้ากับต่างประเทศของอยุธยาในศตวรรษที่ 17”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 10 (2) เมษายน-มิถุนายน : 61-89.
Baker, Cris and Pasuk Phongpaichit. (2017). A History of Ayutthaya : Siam in the Early Modern World. Cambridge : Cambridge University Press.
Bell, Daniel F. (1973). The Coming of Post-Industrial Society. New York : Basic Books.
Dahl, Robert A. (1969). “The Concept of Power” in Roderick Bell, David V. Edwards and Harrison Wagner (eds.). Political Power : A Reader in Theory and Research. New York : The Free Press.
Dahl, Robert A. (1983). Modern Political Analysis. New York : Prentice-Hall.
Illchaman, Warren F. and Uphoff, Norman Thomas. (1974). The Political Economy of Change. Berkley : The University of California Press.
Russell, Bertrand. (1992). Power : A New Social Analysis. London : Routledge.
Schein, Edgar. (1965). Organization Psychology. New York : Prentice-Hall.
Schwarzmantel, John. (1987). Structure of Power : An Introduction to Politics. New York : St. Martin’s Press.
Van Vlit, Jeremias. (1975). The Short History of the King of Siam. Bangkok : The Siam Society.
Wagner, Harrison. (1969). “The concept of power and the study of politics” in Roderick Bell, David V. Edwards and Harrison Wagner (eds.). Political Power : A Reader in Theory and Research. New York : The Free Press.
Wrong, Denis H. (1979). Power : Its Forms, Bases and Uses. New York : Harper and Row.
Wyatt, David K. (2003). Thailand : A Short History. Chiang Mai : Silkworm Books.