ความสุขในชีวิตของผู้สูงวัยยุค 4.0 ในกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

พิทยุฒม์ โตขำ
วันเพ็ญ อนิวรรตนพงศ์
ธัญพัฒน์ ทองนิ่ม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสุขในชีวิตของผู้สูงวัยยุค 4.0 ในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาความสุขในชีวิตของผู้สูงวัยยุค 4.0 จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อความสุขในชีวิตของผู้สูงวัยยุค 4.0 กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย คือประชากรในกรุงเทพมหานครที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม


ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงวัยในกรุงเทพมหานครมีระดับความสุขในชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับมาก ผู้สูงวัยที่มีเพศ อายุ จำนวนสมาชิกในบ้าน และภาวะสุขภาพต่างกัน มีความสุขในชีวิตต่างกัน ปัจจัยส่งเสริมความสุขด้านการทำประโยชน์เพื่อสังคมมีอิทธิพลทางบวกต่อความสุขในชีวิตของผู้สูงวัยมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการใช้สังคมออนไลน์ ด้านการเห็นคุณค่าในตนเอง ด้านแรงสนับสนุนทางสังคม และด้านการพัฒนาจิตใจ ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2565). สถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 จังหวัด ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2564. สืบค้นจาก https://www.dop.go.th/th/know/1/1099

กัลยา วานิชย์บัญชา และฐิตา วานิชย์บัญชา. (2564). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล

(พิมพ์ครั้งที่ 34). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สามลดา.

กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. (2564). อิทธิพลของแรงสนับสนุนทางสังคมและคุณภาพชีวิตที่มีต่อความสุขของผู้สูงอายุเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 10(1), 30-48.

กิตติวงค์ สาสวด. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดภาค 9 ตะวันออก. วารสารชุมชนวิจัย, 11(2), 21-38.

กุลธีรา ทองใหญ่. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขของผู้สุงอายุในเขตชุมชนเก้าเส้ง อำเภอเมือง

จังหวัดสงขลา. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 16(1), 154-179.

เกสร มุ้ยจีน. (2559). การสร้างความสุขด้วยจิตวิทยาเชิงบวก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 24(4), 673-681.

จิตติยา สมบัติบูรณ์, นุชนาถ ประกาศ, และบุศริน เอี่ยวสีหยก. (2562). ความสุขของผู้สูงอายุไทยในยุค Thailand 4.0. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 30(2), 219-228.

ชญานิศวร์ โคโนะ. (2564). การศึกษาข้อมูลทุติยภูมิด้านความสุขของประชากรสูงอายุในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 21(2), 19-33.

ดุษฎี อายุวัฒน์, จงรักษ์ หงส์งาม, เกศินี สราญฤทธิชัย, รักชนก ชำนาญมาก, วณิชชา ณรงค์ชัย, และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2562). ความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 8(1), 136-155.

นริสา วงศ์พนารักษ์. (2556). การสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตในสังคมผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยสาธารณสุข-ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(2), 160-164.

บุญมี พันธุ์ไทย. (2557). ระเบียบวิธีวิจัยการศึกษาเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์. (2560, กรกฎาคม 20). กรมสุขภาพจิตเปิดเวทีวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวชผู้สูงอายุระดับชาติ แนะ ยอมรับ ปรับตัว อยู่อย่างพอดี มีคุณค่า ใช้ 5 สุขในยุค 4.0. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/กรมสุขภาพจิต-แนะใช้-5-ในยุค 4.0/

พิทักษ์ ศิริวงษ์ และบัณฑิตา อุณหเลขาจิตร. (2560). การใช้สื่อสังคมออนไลน์ของผู้สูงอายุในเขตตลาด

ตำบลสามพราน อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล: ครั้งที่ 9. ราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0

(น. 1091-1098). นนทบุรี: ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม, อิมแพค เมืองทองธานี.

ภัทรนันท์ อุ่นอ่อน และนพพร จันทรนำชู. (2565). แนวทางการพัฒนาความสุขของผู้สูงอายุใน

จังหวัดนครปฐม. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 14(2), 24-46.

ภาวิดา พันอินากูล, ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์, และดวงใจ วัฒนสินธุ์. (2562). อิทธิพลของปัจจัยด้านจิตสังคม ที่มีต่อความสุขของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(2), 40-48.

เลิศวัลลภ ศรีษะพลภูสิทธิ และธมนพัชร์ ศรีษะพลภูสิทธิ. (2561). การปรับตัวเพื่อเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 20(1),

-265.

ลำไพ สุวรรณสาร และอรุณรัตน์ สู่หนองบัว. (2565). ผู้สูงอายุสุขภาพดี: ในมุมมองความสุข 5 มิติ. วารสารพยาบาลและสาธารณสุข มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 1(1), 28-34.

วรวรรณ์ ทิพย์วารีรมย์, แสงเดือน อภิรัตนวงศ์, และนิศากร โพธิมาศ. (2565). ปัจจัยทำนายความสุขของผู้สูงอายุในชุมชนวังชมภู จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุข ภาคใต้, 9(1), 94-106.

วริศรา อินทรแสน, วรรณวีร์ บุญคุ้ม, และคณิต เขียววิชัย (2563). การศึกษาสภาพการณ์ปัจจุบันของผู้สูงอายุด้านความสุขในยุคไทยแลนด์ 4.0 ในกลุ่มจังหวัดภาคกลางและปริมณฑล. วารสารศรี-นครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 12(24), 78-90.

วิชาญ ชูรัตน์, โยธิน แสวงดี, และสุพาพร อรุณรักษ์สมบัติ. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะเสี่ยงการมีปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ. วารสารประชากร, 3, 87-109.

วีรณัฐ โรจนประภา. (2560). พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีที่มีผลต่อระดับความสุขของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 13(1), 89-104.

สิทธิพรร์ สุนทร, วัชรินทร์ สุทธิศัย, และพงษ์ศักดิ์ ซิมมอนด์ส. (2563). รูปแบบการพัฒนาความสุขของผู้สูงวัยในจังหวัดมหาสารคาม. วารสารราชภัฏยะลา, 15(2), 153-161.

สุชาดา วงศ์สวาสดิ์ และวิไลพร รังควัต. (2563). ความสุขของผู้สูงอายุในชนบทจังหวัดนครราชสีมา. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(10), 17-34.

สุนันทรา ขำนวนทอง, พิทยุตม์ คงพ่วง, พิมพ์พรรณ อำพันธ์ทอง, และวัชรี เพ็ชรวงษ์. (2565). การมีส่วนร่วมในชุมชนและการใช้สื่อสังคมออนไลน์มีผลต่อรูปแบบความสุขของผู้สูงอายุ ในยุค 4.0 ตำบลวังหว้า อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(12), 698-713.

อภิเชษฐ์ จำเนียรสุข. (2561). ความสุขของผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรัง ในจังหวัดสระแก้ว. วารสารมหาวิทยาลัย-คริสเตียน, 24(2), 195-203.

อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย และอัชฌา ชื่นบุญ. (2563). ความสุขของผู้สูงอายุไทยยุค 4.0 ที่อาศัยอยู่ในชุมชนและผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในสถานดูแลผู้สูงอายุ. วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ, 6(1),

-70.

อรรถกร เฉยทิม, นวลฉวี ประเสริฐสุข, และอุรปรีย์ เกิดในมงคล. (2561). ความสุขของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ, 5(1), 85-108.

อาจ เมธารักษ์. (2564). พุทธวิธีการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขของผู้สูงอายุ. วารสารปรัชญาอาศรม, 3(1), 40-51.

อุไรวรรณ อมรนิมิตร, ณัฐสินี แสนสุข, และธนูศักดิ์ รังสีพรหม. (2565). การศึกษาความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุ. วารสารสังคมศาสตร์, 11(1), 116-127.

อัจศรา ประเสริฐสิน, ทัชชา สุริโย, และปพน ณัฐเมธาวิน. (2561). สุขภาวะของผู้สูงอายุ: แนวคิดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. วารสารสุขศึกษา, 41(1), 1-15.

อัมพร เครือเอม. (2561). ความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุตำบลหนองโพ จังหวัดราชบุรี. วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล, 3(1), 59-71.

Argyle, M., & Martin, M. (1991). The psychological causes of happiness. In Strack, F. Argyle, M., & Schwarz, N. (Eds.), Subjective well-being: An interdisciplinary perspective (pp. 77-100). Oxford, England: Pergamon Press.

Atchley, R. C. (1989). A continuity theory of normal aging. The Gerontologist, 29(2), 183-190.

Bolton, R. N., Parasuraman, A., Hoefnagels, A., Migchels, N., Kabadayi, S., Gruber, T., Loureiro, Y. K., & Solnet, D. (2013). Understanding generation Y and their use of social media: A review and research agenda. Journal of Service Management, 24(3), 245-267.

Coopersmith, S. (1984). The manual of self-esteem inventory. Palo Alto, CA: Consulting Psychologists Press.

Hansen-Kyle, L. (2005). A concept analysis of healthy aging. Nursing Forum; Philadelphia, 40(2), 45-57.

House, J. S. (1981). Work stress and social support. Reading, MA: Addison-Wesley.

Layard, R. (2007). Happiness: Lessons from a new science. London: Penguin Books.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Palmore, E., & Luikart, C. (1992). Health and social factors related to life satisfaction. Journal of Health and Social Science, 57(1), 605-620.

Ryff, C. D. (1989). Happiness is everything, or is it? Explorations on the meaning of psychological

well being. Journal of Personality and Social Psychology, 57(6), 1069-1081.

Schaefer, C., Coyne, J. C., & Lazarus, R. S. (1981). The health-related functions of social

support. Journal of behavioral medicine, 4(4), 381-406.

Yamane, T. (1973). Statistics, an introductory analysis (2nd ed.). New York: Harper and Row.