ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ขององค์การบริหาร ส่วนตำบลในจังหวัดลำปาง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านหลักการบริหารงานที่มีผลต่อความพร้อมในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดลำปาง โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้อำนวยการกองคลัง และเจ้าพนักงานจัดเก็บภาษี จำนวน 118 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย และสถิติเชิงอนุมาน คือการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดลำปาง มีความพร้อมในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ในด้านต่างๆ โดยเรียงค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านอารมณ์ แรงจูงใจและบุคลิกภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสติปัญญา และด้านกายภาพ ตามลำดับ และผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ด้านการบริหารวัสดุอุปกรณ์ ด้านการบริหารงบประมาณ และด้านการบริหารจัดการภายใน มีผลต่อความพร้อม
ในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำบทความทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อนเท่านั้น
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2563). ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง. สืบค้นจาก
http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2019/6/12493_15656.pdf.
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2563). ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/abt.
กอปรลาภ อภัยภักดิ์. (2563). บรรยากาศองค์กรแห่งความสุข: คนเบิกบาน งานสำเร็จ. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1), 315-331.
จุฑามาศ แหนจอน. (2558). สมองกับอารมณ์: มหัศจรรย์ความเชื่อมโยง. วารสารราชพฤกษ์, 13(3), 9-19.
ฑัมม์พร นิพนธ์พิทยา. (2561). ความสำคัญของการวิจัยทรัพยากรมนุษย์. วารสารวิจัยวิชาการ, 1(2), 121-136.
ไทยพีบีเอส. (2563). ความท้าทายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง: ชั่วโมงทำกิน. สืบจาก https://www.youtube.com/watch?v=G2RxL3hp3nQ.
นภาภรณ์ ร่มโพธิ (2560). การพัฒนาบุคลากรสายจัดเก็บภาษีอากร ที่ทำให้เป็นบุคลากรที่มีความสามารถสูง. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 9(3), 451-481.
นวันธร ใจแคล้ว. (2560). การศึกษาปัจจัยด้านอารมณ์และบุคลิกภาพ สัมพันธภาพในการทำงาน และวัฒนธรรมการทำงานที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ: ศึกษากรณีของพนักงาน Generation Y ในเขตบางรัก เขตคลองเตย เขตสาธร และเขตห้วยขวาง. การค้นคว้าแบบอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ประพาพร พืชผักหวาน. (2564). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลสามสวน อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ. สืบค้นจาก http://www.ba-abstract.ru.ac.th/AbstractPdf/2562-5-13_1599637392.pdf.
ประพาฬ วงศ์สุบิน. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างองค์การบริหารส่วนตําบล ในเขตอําเภอแกลง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.
ปัญญ์ประดับ จรเอ้กา. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลปะเคียบ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ปาริฉัตร ภูต้องลม. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลคลองขาม อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2: บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ความรู้ สู่ความยั่งยืน, 556-563.
เพ็ญนภา ยันต์ชมภู. (2554). กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล:
กรณีศึกษาเปรียบเทียบในจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
มายามีน หวันฮัซซัน อามาณีย์ ยะปา และซุไวบะห์ กาโฮง. (2563). ความพร้อมในการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนราธิวาส. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 11, 24-35.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2553). เทคนิคการสร้างและการผสมผสานกรอบแนวคิดทางวิชาการ . สืบค้นจาก
วิริยะ นามศิริพงศ์พันธ์. (2563). พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562. วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์, 13(1), 103-119.
วีรพล แก่นจันทร์. (2561). ประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 1 “รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21”. 649-946.
ศรินรัตน์ วิรุณพันธ์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สุมาลี เฉลิมวงศ์. (2563). การบริหารการจัดเก็บภาษีขององค์การบริหารส่วนตำบลวังจันทร์ อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. Lawarath Social E-Journal, 2(1), 43-53.
Cortina, J. M. (1993). What Is Coefficient Alpha: An Examination of Theory and Applications? Journal of Applied Psychology, 78(1), 98-104.
Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16(3), 297-334.
Downing, J., & Thackray, D. (1971). Reading and Readiness. London: University of London.
Judge, T. A., & Ilies, R. (2002). Relationship of personality to performance motivation: A meta-
analytic review. Journal of Applied Psychology, 87(4), 797–807.
Lovell, R. B. (1980). Adult Learning. New York: Haper and Row.
Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.
Steers, R. M. (1977). Antecedents and Outcome of Organizational Commitment. Administrative
Science quarterly, 22(1), 46-56.
Toofany, S. (2008). Critical thinking among nurses. Nursing Management, 14(9), 28-31.
Venkateswaran, N. (2012). Strategies for adopting talent management issues in software companies. International Journal of Management Economics and Social Sciences, 1(2), 33-41.