ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการของนิสิตหลักสูตรที่มุ่งเน้นการเป็นผู้ประกอบการ มหาวิทยาลัยพะเยา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนและคุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการของนิสิตหลักสูตรที่มุ่งเน้นการเป็นผู้ประกอบการมหาวิทยาลัยพะเยา ใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างนิสิตที่กำลังศึกษาในหลักสูตรที่มุ่งเน้นการเป็นผู้ประกอบการ จำนวน 202 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน คือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่าทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนและคุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์และมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการของนิสิตหลักสูตรการเป็นผู้ประกอบการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย (β) เท่ากับ 0.612 และ 0.541 ตามลำดับ ตัวแบบสามารถพยากรณ์ความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการได้ร้อยละ 73.40 (R2 = 0.734) โดยทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุด
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำบทความทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อนเท่านั้น
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2563). ข้อมูลการจดทะเบียนธุรกิจ เดือนพฤษภาคม 2563. สืบค้นจาก https://www.dbd.go.th/download/document_file/Statisic /2563/ H26/H26_202005.pdf
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2552). ศักยภาพและความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ 2551. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, นครปฐม.
คมกริช นันทะโรจพงศ์ ภูธิป มีถาวรกุล และประสพชัย พสุนนท์. (2561). พฤติกรรมการเป็นผู้ประกอบการ ของวัยรุ่นไทย: อิทธิพลของการรับรู้ความสามารถตนเองและการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมต่อความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการในบริบทวัฒนธรรมแบบรวมกลุ่ม. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 9(2), 44-59.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2548). ศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 11(3), 255-274.
ธาดาธิเบศร์ ภูทอง และปวันรัตน์ หงษ์เลิศสกุล. (2562). โมเดลสมการโครงสร้างของการสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมต่อความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลรายใหม่ด้านการเกษตรของนักศึกษาด้านเกษตรศาสตร์. Veridian E-Journal, Silpakorn University (มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ), 12(4), 355-385.
นันทพร เขียนดวงจันทร์ และขวัญกมล ดอนขวา. (2562). ทัศนคติ และความตั้งใจที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค ในการซื้อสินค้าผ่านไลน์. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 13(2), 58-78.
ปรารถนา หลีกภัย เกิดศิริ เจริญวิศาล ชาลี ไตรจันทร์ และโสภณิ จิระเกียรติกุล. (2557). ความสามารถทางนวัตกรรมของธุรกิจโรงแรมในภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ, 31(1), 69-95.
ปัทมา อินทรจันทร์ และฬุลิยา ธีระธัญศิริกุล. (2562). ปัจจัยแห่งความสำเร็จด้านผู้ประกอบการของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 11(1), 289-303.
ฝนทิพย์ ฆารไสว ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ และไว จามรมาน. (2555). การศึกษาคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ ประสบความสำเร็จของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดภาคเหนือตอนล่างของไทย. วารสารวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 7(1), 39-50.
พรทิพย์ ม่วงมี ดุษฎี โยเหลา และภิญญาพันธ์ ร่วมชาติ. (2555). ปัจจัยทางจิตและสังคมที่เกี่ยวข้องกับความตั้งใจเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษา ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 4(1), 74-82.
พิชามญชุ์ อดุลวิทย์. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการแบ่งปันความรู้ตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน. วารสารนักบริหาร, 31(1), 256-260.
พิมพิกา พูลสวัสดิ์ และวิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์. (2562). อิทธิพลของปัจจัยตามทฤษฎีพฤติกรรรมแผนที่มีต่อ ความตั้งใจที่จะเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 10(2), 50-61.
ภัทรานิษฐ์ สรเสริมสมบัติ วราวุธ ฤกษ์วรารักษ์ จารุวรรณ แดงบุบผา และณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ. (2560). ปัจจัยด้านจิตวิทยาที่ส่งผลต่อการเริ่มต้นธุรกิจของผู้ประกอบการโรงแรมในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย, 12(2), 17-41.
มรกต กำแพงเพชร และประสพชัย พสุนนท์. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาปีสุดท้ายของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. ธุรกิจปริทัศน์, 7(1), 207-224.
มหาวิทยาลัยพะเยา. (2563). รายงานสถิติจำนวนนิสิตปัจจุบัน. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2563, จาก http://reg.up.ac.th/app/rpt/rpt_std_present/preview/all
มารยาท โยทองยศ และทรงวาด สุขเมืองมา. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจที่จะเป็น ผู้ประกอบการของนักศึกษาปริญญาตรี: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สุทธิปริทัศน์, 30(95), 103-115.
วันวิสาข์ โชคพรหมอนันต์ และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558). คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการร้านค้า ในตลาดน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม. Veridian E-Journal, Silpakorn University (มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ), 8(2), 967-988.
สุธีรา อะทะวงษา. (2556). คุณลักษณะที่สำคัญของการเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. ศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13(1), 176-183.
อนุวัต สงสม. (2560). ความสามารถทางนวัตกรรม: การทบทวนวรรณกรรมและแบบจำลองเชิงแนวคิดเพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุและผลลัพธ์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์, 37(4), 192-194.
อนุวัตร จุลินทร ดุษฎี โยเหลา และเพ็ชรัตน์ ไสยสมบัติ. (2019). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันเจตคติต่อความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย. Veridian E-Journal, Silpakorn University (มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ), 12(5), 1376-1395.
Agolla, J. E., Monametsi, G. L., & Phera, P. (2019). Antecedents of entrepreneurial intentions amongst business students in a tertiary institution. Asia Pacific Journal of Innovation and Entrepreneurship, 13(2), 138-152.
Ajzen, I. (1991). The theory of planned behavior. Organizational Behavior and Human Decision Process, 50(2), 179-211.
Debarliev, S., Janeska-Iliev, A., Bozhinovska, T., & Ilieva, V. (2015). Antecedents of intention: Evidence from Republic of Macedonia. Business and Economic Horizons, 11(3), 143-161.
Donkwa, K. (2016). The effects of the sufficiency economy on community business management. Suranaree Journal of Social Sciences, 10(2), 53-72.
Embi, N. A. C., Jaiyeoba, H. B., & Yussof, S. A. (2019). The effects of students’ entrepreneurial characteristics on their propensity to become entrepreneurs in Malaysia. Education + Training, 61(7/8), 1020-1037.
Ezeh, P., Nkamnebe, A. D., & Omodafe, U. P. (2020). Determinants of entrepreneurial intention among undergraduates in a Muslim community. Management Research Review, 43(8), 1013-1030.
Farooq, M. S. (2018). Modelling the significance of social support and entrepreneurial skills for determining entrepreneurial behavior of individuals: A structural equation modelling approach. World Journal of Entrepreneurship, Management and Sustainable Development, 14(3), 242-266.
Fragoso, R., Rocha, Jr., W., & Xavier, A. (2019). Determinant factors of entrepreneurial intention among university students in Brazil and Portugal. Journal of Small Business & Entrepreneurship, 32(1), 33-57.
Gürol, Y., & Atsan, N. (2006). Entrepreneurial characteristics amongst university students: some insights for entrepreneurship education and training in Turkey. Education + Training, 48(1), 25-38.
Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis: a global perspective (7th edition). New Jersey: Prentice Hall.
Jena, R. K. (2020). Measuring the impact of business management student's attitude towards entrepreneurship education on entrepreneurial intention: A case study. Computer and Human Behavior, 107(6), 1-10.
Koh, H. C. (1996). Testing hypotheses of entrepreneurial characteristics: A study of Hong Kong MBA students. Journal of Managerial Psychology, 11(3), 12-25.
Krauss, S. I., Frese. M., Friedrich, C., & Unger, J. M. (2005). Entrepreneurial orientation: A psychological model of success among southern African small business owners. European Journal of Work and Organizational Psychology, 14(3), 315-344.
Lee-Ross, D. (2017). An examination of the entrepreneurial intent of MBA students in Australia using the entrepreneurial intention questionnaire. Journal of Management Development, 36(9), 1180-1190.
Liñán, F., & Chen, Y. W. (2009). Development and cross-cultural application of a specific instrument to measure entrepreneurial intentions. Entrepreneurship Theory and Practice, 33(3), 593-617.
Miranda, F. J., Chamorro-Mera, A., & Rubio, S. (2019). Academic entrepreneurship in Spanish universities: An analysis of the determinants of entrepreneurial intention. European Research on Management and Business Economics, 23(2), 113-122.
Muhammad, A. D., Aliyu, S., & Ahmad, S. (2015). Entrepreneurial intention among Nigerian university students. American Journal of Business Education, 8(4), 239-247.
Pau, Y. T., Nizam, I., & Arasaratnam, K. (2018). The determinants of entrepreneurial intention of MBA graduates in Malaysia. International Journal of Accounting & Business Management, 6(2), 36-52.
Rittippant, N., Kokchang, W., Vanichkitpisan, P., & Chompoodang. (2011). Measure of entrepreneurial intention of young adults in Thailand. 1 July 2020. Retrieved from http://www.ppml.url.tw/EPPM/conferences/2011/download/SESSION8/215_226.pdf
Tassawa, K. (2019). A structural model for predicting entrepreneurial intention of university students. Humanities, Arts and Social Sciences Studies, 19(2), 362-386.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd edition). New York: Harper and Row Publications.