การบูรณาการวิศวกรสังคมสำหรับการท่องเที่ยววิถีชีวิตในชนบทของไทยสู่ความยั่งยืน

Main Article Content

เกสสิณี ตรีพงศ์พันธุ์

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำแนวคิดเรื่องวิศวกรสังคมมาบูรณาการร่วมกับการท่องเที่ยววิถีชีวิตในชนบทของไทย เพื่อสร้างความยั่งยืนของการท่องเที่ยววิถีชีวิตในชนบทของไทย โดยการท่องเที่ยวดังกล่าวเป็นการเรียนรู้และศึกษาวิถีชีวิตของผู้คนในชุมชน รวมถึงองค์ความรู้ท้องถิ่น ทั้งนี้ การท่องเที่ยววิถีชีวิตในชนบทสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน แต่ในเวลาเดียวกันก็ส่งผลเสียด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ดังนั้น วิศวกรสังคมจะช่วยดึงศักยภาพชุมชนในการรองรับการท่องเที่ยว และบูรณาการทักษะเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยว ยกระดับองค์ความรู้ในชุมชนให้สามารถบริหารจัดการการท่องเที่ยวได้ในระยะยาว ประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว สร้างนวัตกรรมเพื่อการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน และสร้างความยั่งยืนในการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลชนก จันทร์เกตุ. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : ชุมชนเกาะยอ จังหวัดสงขลา, สืบค้นจาก http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU_2017_5903010014_8197_8295.pdf

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). โครงการเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. สืบค้นจาก https://mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=12288

กันทนา ใจสุวรรณ. (2563). วิถีชีวิตคนชนบทไทยยุค 4.0. วารสารปัญญาปณิธาน, 5(1), 29-41.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2561). นวัตกรรมยุทธศาสตร์การพัฒนาชนบทเพื่อการสร้างชาติ (Innovative Rural Development Strategies for Nation-Building). สืบค้นจาก http://drdancando.com/นวัตกรรมยุทธศาสตร์การพ/

เกวลี บุญเทียน. (2563). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เพื่อรองรับ AEC: กรณีศึกษาอำเภอ อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารพุทธอาเซียนศึกษา, 5(1), 94-108.

ชุลีวรรณ ปราณีธรรม. (2560). แรงบันดาลใจในการมีจิตสาธารณะเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 9(1), 254-264.

ดวงกมล ยางงาม และวดี วรรณา. (2563). การนำนโยบายการท่องเที่ยวเมืองรองไปปฏิบัติกรณีศึกษา: การท่องเที่ยวชมวิถีชีวิตชนบทจังหวัดจันทบุรี. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์รำไพพรรณี, 1(1), 14-29.

เทพพิทักษ์ ยศหมึก. (2563). มรส. สร้าง “วิศวกรสังคม”ต้นแบบ สู่ชุมชนเพื่อการพัฒนาประเทศ. สืบค้นจาก

http://www.sru.ac.th/news-and-announcement/news-events/1714-engineer.html

ธาริดา สกุลรัตน์, ธารนี นวัสนธี และเบญจพร เชื้อผึ้ง. (2563). การบริหารจัดการความเสี่ยงของที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท (โฮมสเตย์) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(4), 305-320.

นิตยา งามยิ่งยง และละเอียด ศิลาน้อย. (2560). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนชุมชนบริเวณริมฝั่งคลองดำเนินสะดวกในจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดราชบุรี. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(1), 149-166.

นุชประวีณ์ ลิขิตศรัณย์. (2562). ผลกระทบทางการท่องเที่ยวต่อชุมชนรอบบริเวณอุทยานแห่งชาติพุเตยจังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ, 20(2), 139-150.

ปานฤทัย เห่งพุ่ม. (2564). การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Sustainable Tourism). สืบค้นจาก http://www.elfhs.ssru.ac.th/panruthai_he/pluginfile.php/39/course/summary/การจัดการการท่องเที่ยวด้วยการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน-web.pdf

พรหมภัสสร ชุณหบุญญทิพย์. (2560). การท่องเที่ยวชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมพื้นที่ชุ่มน้ำหนองไชยวาน บ้านดอนแดง อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 13(2), 47-62.

พิจาริณี โล่ชัยยะกูล. (2564). ความสำคัญของการบริหารการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. สืบค้นจาก

http://www.etatjournal.com/mobile/index.php/menu-read-tat/menu-2012/menu-2012-apr-ju/49-22555-travel

พิมทรัพย์ พิมพิสุทธ์. (2562). เวียงเหนือ: เวียงวัฒนะ การศึกษาทรัพยากรทางวัฒนธรรมเพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมให้เป็นพื้นที่แห่งการท่องเที่ยวและการเรียนรู้ในเขตเทศบาล ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย. สืบค้นจาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/oarit/ article/ download/166776/120406/

พีรวิชญ์ สิงฆาฬะ, ภานุพงศ์ อุบัวบล, ศราวุธ ตันติวัฒนสุทธิ, เฉลิมเกียรติ เฟื่องแก้ว, และอธิป จันทร์สรุิย์. (2563). การศึกษาระบบการท่องเที่ยวชุมชนบ้านน้ำเชี่ยว อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 9(2), 35-50.

ภณสิทธ์ อ้นยะ. (2563). การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยกระบวนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 14(2), 45-54.

มนชนก จุลสิกขี. (2563). การท่องเที่ยววิถีไทยด้วยรถไฟสายวัฒนธรรม. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 15(1), 85-94.

มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2564). หลักการของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. สืบค้นจาก

http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=27&chap=3&page=t27-3-infodetail02.html

ศรัณย์ บุญประเสริฐ. (2563). ท่องเที่ยวชุมชน บนเส้นทางเรียนรู้. สืบค้นจาก http://www.culture.go.th/culture_th/ewt_news.php?nid=4812&filename=index

ศศิชา หมดมลทิล. (2562). ท่องเที่ยวโดยชุมชนวิถีสู่ความยั่งยืน. สืบค้นจาก https://www.gsbresearch.or.th/wp-content/uploads/2019/10/GR_report_travel_detail.pdf

ศูนย์ประสานงานเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2564). การท่องเที่ยวโดยชุมชน. สืบค้นจาก

https://thaicommunitybasedtourismnetwork.wordpress.com/cbt/

สดุดี วงศ์เกียรติขจร และจิราวดี รัตนไพฑูรย์ชัย. (2558). Going Local ส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอาเซียน. สืบค้นจาก http://www.itd.or.th/wp-content/uploads /2015/05/20150305-ar_going-local.pdf

สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2564). การท่องเที่ยวโดยชุมชน 1. สืบค้นจาก http://www.elfhs.ssru.ac.th/siriman_wa/pluginfile.php/148/block_html/content/การท่องเที่ยวโดยชุมชน.pdf

สมเกียรติ ศรีปัดถา และสืบชาติ อันทะไชย. (2559). รูปแบบการรับรู้ของประชาชนที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 11(37), 57-68.

สยาม อรุณศรีมรกต. (2563). การพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในประเทศไทย. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 15(1), 95-110.

สยามรัฐออนไลน์. (2563). มรส.สร้าง “วิศวกรสังคม”ต้นแบบ สู่ชุมชนเพื่อการพัฒนาประเทศ. สืบค้นจาก

https://siamrath.co.th/n/134109

สฤณี อาชวานันทกุล. (2560). การท่องเที่ยว ‘ไซส์ใหญ่’ กับการพัฒนาที่ ‘ไม่ยั่งยืน’. สืบค้นจาก http://www.etatjournal.com/web/menu-read-tat/menu-2017/menu-32017/791-32017-big-size

สัคคยศ สังขพันธ์. (2563). รูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวกีฬาดำน้ำตามแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนท้องถิ่น. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(8), 324-334.

สุดถนอม ตันเจริญ. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนบางขันแตก จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 13(2), 1-24.

สุพรรณิการ์ ศุภทรัพย์, จุฑาทิพย์ เฉลิมผล, รุจ ศิริสัญลักษณ์ และบุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล. (2562). การปรับตัว ของเกษตรกรรายย่อยต่อผลกระทบจากการขยายตัวของเมืองในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและ ส่งเสริมวิชาการเกษตร, 37(1), 94-105.

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2561). แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนและสร้างสรรค์ พ.ศ. 2561- 2565. สืบค้นจาก https://secretary.mots.go.th/news_view.php?nid=1481

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2562). จัดทำแผนการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษเลย. สืบค้นจาก http://dspace.library.tu.ac.th:8080/bitstream/handle/6626133120/857/2562A00219-อพท..pdf?sequence=1&isAllowed=y

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. (2564). การท่องเที่ยวโดยชุมชมอย่างยั่งยืน. สืบค้นจาก https://www.tatreviewmagazine.com/article/cbt-thailand/

อดิสรณ์ เนาวโคอักษร. (2563). มรส. เตรียมการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยภายใต้แนวคิด“วิศวกรสังคม”. สืบค้นจาก http://www.sru.ac.th/news-and-announcement/news- events/1833-ministry-of-higher-education-science-research.html

อภิณห์พร สถิตย์ภาคีกุล. (2561). การออกแบบการเรียนการสอน: ทักษะเพื่อความสำเร็จของครู. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 10(ฉบับพิเศษ), 107-115.

อรจิรา สิทธิศักดิ์. (2563). ปัจจัยที่เอื้อและเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวิเคราะห์ศักยภาพเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษา: ชุมชนตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง. วารสารอินทนิลทักษิณสาร, 15(2), 109-127.

Faiz, P., & Agustine, O. (2018). The Indonesian constitutional court decisions as a social engineer in improving people’s welfare. The 1st International Conference on Recent Innovations (ICRI 2018), 165-170.

Fang, W. T. (2020). Tourism in emerging economies: The way we green, sustainable, and healthy. Retrieved from https://www.springer.com/gp/book/9789811524622

Gao, J., & Wu, B. (2017). Revitalizing traditional villages through rural tourism: A case study of Yuanjia Village, Shaanxi Province, China. Tourism Management, 63(2017), 223-233.

Kantar, S., & Svržnjak, K. (2017). Development of sustainable rural tourism. The Central European Journal of Regional Development and Tourism, 9(1), 26-34.

Kartono, D. T., & Budi, A. C. (2018). Social engineering design for food security study on apple farming in Kota Batu, East Java. Advances in Social Science, Education and Humanities Research, 251, 189-192.

Lenzen, M., Sun, Y.-Y., Ting, Y.-P., Geschke, A., & Malik, A. (2018). The carbon footprint of global tourism. Nature Climate Change, 8(6), 522-528.

Liu, C., Dou, X., Li, J., & Cai, L. A. (2020). Analyzing government role in rural tourism development: An empirical investigation from China. Journal of Rural Studies, 79(2020), 177-188.

Manurung, R., Ismail, R., & Muda, I. (2019). Social engineering model to improve the ability of tourism-based society in managing the local potential around Lake Toba in North Sumatera. International Journal of Scientific & Technology Research, 8(8), 186-191.

Martínez, J. M. G., Martín, J. M. M., Fernández, J. A. S., & Mogorrón-Guerrero, H. (2019). An analysis of the stability of rural tourism as a desired condition for sustainable tourism. Journal of Business Research, 100, 165-174.

Petrovic, M. D., Vujko, A., Gajic, T., Vukovic, D. B., Radovanovic, M., Jovanovic, J. M., et al. (2018). Tourism as an approach to sustainable rural development in post-socialist countries: A comparative study of Serbia and Slovenia. Sustainability, 10(54), 1-14.

Robinson, R. N. S., Martins, A., Solnet, D., & Baum, T. (2019). Sustaining precarity: critically examining tourism and employment. Journal of Sustainable Tourism, 27(7), 1-19.

Smith, M. K., & Diekmann, A. (2017). Tourism and wellbeing. Annals of Tourism Research, 66, 1-13.

Suyanto, E., Wardiyono, F., Wardhiana, S., & Restuadhi, H. (2017). Social engineering on mangrove preservation based on fishermen’s local wisdom. MIMBAR: Jurnal Sosial dan Pembangunan, 31(1), 55-61.

Toader, I. A., & Mocuta, D. N. (2020). The risk management in the tourism, rural tourism and agritourism. Scientific Papers Series Management, Economic Engineering in Agriculture and Rural Development, 20(2), 477-482.

Wahyono, H., Rahdriawan, M., & Sunaryo, B. (2016). Social engineering model based on cultural tourism towards the sustainable urban areas (case study: community development of Kandri Tourism Village as implications of Jatibarang Dam Construction in Semarang, Indonesia). International Journal of Scientific and Research Publications, 6(3), 281-288.

Zsarnoczky, M. (2017). The future of sustainable rural tourism development – the impacts of climate change. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/ 319248670_THE_FUTURE_OF_SUSTAINABLE_RURAL_TOURISM_DEVELOPMENT_THE_IMPACTS_OF_CLIMATE_CHANGE