แนวคิดเศรษฐกิจสีน้ำเงินกับมุมมองผู้ประกอบการเรือท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการของผู้ประกอบการเรือนำเที่ยวภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสีน้ำเงินในจังหวัดภูเก็ต โดยผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้ประกอบการหรือผู้เชี่ยวชาญในสายงานเรือท่องเที่ยว ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า กลุ่มผู้ประกอบการ มีความรู้ความสามารถในการดำเนินกิจกรรมเรือท่องเที่ยว มีความรู้ในการตระหนักถึงการอนุรักษ์ ป้องกันทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมทางทะเล โดยจำแนกออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน ผู้ประกอบการเรือท่องเที่ยวมีการดำเนินกิจการด้วยการใช้องค์ความรู้ของการดำเนินธุรกิจ โดยการปฏิบัติตามระเบียบ และข้อกำหนด ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางทะเลผ่านทางการบริการอันเป็นเครื่องมือสำคัญของการพัฒนากิจกรรมเรือท่องเทียว 2) ด้านสังคมและผลกระทบโดยรวม ผู้ประกอบการเรือท่องเที่ยวทุกคนต้องร่วมมือกันดูแลรักษาระบบนิเวศทางทะเล รวมถึงเป็นการสร้างงานและสร้างความเข้าใจให้กับชุมชนท้องถิ่นที่เป็นเจ้าของพื้นที่อย่างไม่มีปัญหาขัดแย้ง และเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน และ 3) ด้านสิ่งแวดล้อมและการป้องกันดูแลรักษา ผู้ประกอบการเรือท่องเที่ยว ประกอบกิจกรรมท่องเที่ยวโดยการให้ความรู้แก่นักท่องเที่ยวและสร้างการตระหนักรู้ถึงการอนุรักษ์ธรรมชาติ ถือเป็นการเพิ่มคุณค่าของการอนุรักษ์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นการประยุกต์ผ่านแนวคิดเศรษฐกิจสีน้ำเงินสู่การท่องเที่ยวต่อระบบนิเวศทางทะเล อันนำไปสู่วิธีคิดแบบใหม่ที่เป็นระบบมากขึ้น โดยอาศัยความเข้าใจและความร่วมมือของทุกภาคส่วน อาจกล่าวได้ว่า การจัดการกิจกรรมเรือท่องเที่ยวทางทะเลและมุมมองของผู้ประกอบการหรือผู้เชี่ยวชาญในเรือท่องเที่ยวนั้น มีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาเศรษฐกิจสีน้ำเงินของประเทศไทย ประกอบกับองค์ความรู้ การคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรทางทะเลอย่างเต็มประสิทธิภาพ ตลอดจนเป็นแบบอย่างที่ดีในการนำเที่ยว
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำบทความทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารบริหารธุรกิจและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ก่อนเท่านั้น
References
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (2559). แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2560-2579. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563, จาก https://dmcrth.dmcr.go.th/ attachment/dw/ download.phpWP=rUqjMT00qmAZG22DM7y04TyerPMjZ200qmyZZz1CM5O0hJatrTDo7o3Q
คณะกรรมการสถิติจังหวัดภูเก็ต, สำนักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต. (2561). แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่ จังหวัดภูเก็ต ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2561-2564). สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563, จาก http://phuket.nso.go.th/images/new/interest_stat/analysis_popular61_64.pdf
นิรมล สุธรรมกิจ และ อนิณ อรุณเรืองสวัสดิ์. (2561). การศึกษาแนวโน้มของการพัฒนาจังหวัดชายฝั่งทะเลของไทย เพื่อเข้าสู่เศรษฐกิจสีน้ำเงิน (SRI6030701). สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563, จาก https://elibrary.trf.or.th /project_content.asp?PJID=SRI6030701
ณฐนภ ศรัทธาธรรม. (2563). ถึงเวลาแล้วหรือยังที่สังคมไทย จะหันมาสนใจ “เศรษฐกิจสีน้ำเงิน”. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563, จาก https://researchcafe.org/study-of-potential-development-for-blue-economy
ดวงพร อุไรวรรณ. (2561). แนวคิดเศรษฐกิจสีน้ำเงินกับผลประโยชน์แห่งชาติทางท้องทะเลของประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(2), 1-13.
เรณู สุขารมณ์ และยุวดี คาดการณ์ไกล. (2554). บทวิจารณ์หนังสือ: The Blue Economy-10 Years, 100 Innovations, 100 Million Jobs. วารสารเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ, 4(7), 78-86.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2560). การวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารวิชาชีพบัญชี, 13(37), 92-103.
สำนักงานสถิติจังหวัดภูเก็ต. (2561). โครงการจัดทำแผนพัฒนาสถิติระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563, จาก http://phuket.nso.go.th/images/new/ interest_stat/ analysis_popular.pdf
สุเทพ สิงห์ฆาฬะ. (2560). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในมุมมองของผู้ประกอบการท่องเที่ยว และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2), 127-136.
โสภารัตน์ จารุสมบัติ (บรรณาธิการ). (2561). คู่มือการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจสีน้ำเงินของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.trf.or.th/attachments/article/13429/Blue_Economy-A_Policy_Handbook.pdf
อรพรรณ ณ บางช้าง และอิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์. (2557). การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสนับสนุนการบริหารการจัดการทรัพยากรทะเล (RDG5430017). สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563, จาก https://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=RDG5430017
Dimopoulos, D., Queiros, D., & van Zyl, C. (2019). Sinking deeper: The most significant risks impacting the dive tourism industry in the East African Marine Ecoregion. Ocean & Coastal Management, 181(November), 104897.
Erzberger, C., & Prein, G. (1997). Triangulation: Validity and empirically-based hypothesis construction. Quality and Quantity, 31(2), 141–154.
European Commission. (2020). The EU Blue Economy Report 2020. Retrieved from https://medblueconomyplatform.org/wp-content/uploads/2020/08/file-library-5ebcdba 54fcab7a5c6b0.pdf
European Parliamentary Research Service. (2020). The Blue Economy, Overview and EU policy framework (PE 646.152 – January 2020).
Garland, M., Axon, S., Graziano, M., Morrissey, J., & Heidkamp, C. P. (2019). The blue economy: Identifying geographic concepts and sensitivities. Geography Compass, 13(7), Retrieved May 20, 2021, from https://doi.org/10.1111/gec3.12445
Gon, M., Osti, L., & Pechlaner, H. (2016), Leisure boat tourism: residents’ attitudes towards nautical tourism development, Tourism Review, 17, 180-191.
Hagaman, A. K., & Wutich, A. (2017). How Many Interviews Are Enough to Identify Metathemes in Multisited and Cross-cultural Research? Another Perspective on Guest, Bunce, and Johnson’s (2006) Landmark Study. Field Methods, 29(1), 23-41.
Hoerterer, C., Schupp, M. F., Benkens, A., Nickiewicz, D., Krause, G., & Buck, B. H. (2020). Stakeholder perspectives on opportunities and challenges in achieving sustainable growth of the blue economy in a changing climate. Frontiers in Marine Science, 6(795). 1-12.
Jamshed, S. (2014). Qualitative research method-interviewing and observation. Journal of Basic and Clinical Pharmacy, 5(4), 87-88.
Jones, A., & Navarro, C. (2018). Events and the blue economy: Sailing events as alternative pathways for tourism futures – the case of Malta. International Journal of Event and Festival Management, 9(2), 204-222.
Kathijotes, N. (2013). Keynote: Blue economy: Environmental and behavioural aspects towards sustainable coastal development. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 101, 7-13. Retrieved May 20, 2021, from https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2013.07.173
Malterud, K., Siersma, V. D., & Guassora, A. D. (2016). Sample size in qualitative interview studies: Guided by information power. Qualitative health research, 26(13), 1753–1760.
Natow, R. S. (2020). The use of triangulation in qualitative studies employing elite interviews. Qualitative Research, 20(2), 160–173.
Palinkas, L. A., Horwitz, S. M., Green, C. A., Wisdom, J. P., Duan, N., & Hoagwood, K. (2015). Purposeful sampling for qualitative data collection and analysis in mixed method implementation research. Administration and Policy in Mental Health and Mental Health Services Research, 42(5), 533–544.
Pauli, G. (2010). The Blue Economy: 10 Years, 100 Innovations, 100 Million Jobs. Taos, New Mexico: Paradigm Publications.
Phelan, A., Ruhanen, L., & Mair, J. (2020). Ecosystem services approach for community-based ecotourism: Towards an equitable and sustainable blue economy. Journal of Sustainable Tourism, 28(10), 1665-1685.
Robinson, O. C. (2014). Sampling in interview-based qualitative research: A theoretical and practical guide. Qualitative Research in Psychology, 11(1), 25–41.
Sdoukopoulos, E., Perra, V. M., Boile, M., Efthymiou, L., Dekoulou, P., & Orphanidou, Y. (2021). Connecting cruise lines with local supply chains for enhancing customer experience: A platform application in Greece. In E. Nathanail, G. Adamos, & I. Karakikes (Eds.), Advances in Mobility-as-a-Service Systems (Vol. 1278, pp.1086–1096). Springer US.
Spalding, M. J. (2016). The new blue economy: The future of sustainability. Journal of Ocean and Coastal Economics, 2(2), 8, Retrieved May 20, 2021, from https://doi.org/10.15351 /2373-8456.1052
Tegar, D., & Gurning, R. O. S. (2018). Development of marine and coastal tourism based on blue economy. International Journal of Marine Engineering Innovation and Research, 2.
Wenhai, L., Cusack, C., Baker, M., Tao, W., Mingbao, C., Paige, K., & Others. (2019). Successful blue economy: Examples with an emphasis on international perspectives. Frontiers in Marine Science, 6(261).
UNCTAD. (2020). The COVID-19 Pandemic and the Blue Economy: New Challenges and Prospects for Recovery and Resilience. Retrieved May 20, 2021, from https://unctad.org/system/files/ official-document/ditctedinf2020d2_en.pdf
UNWTO. (2019). Tourism in the 2030 Agenda. Retrieved May 20, 2021, from https://www.unwto.org/tourism-in-2030-agenda
Zappino, V. (2005). Caribbean Tourism and Development: An overview. (ECDPM Discussion Paper No. 65). Maastricht: ECDPM. Retrieved May 20, 2021, from http://ecdpm.org/wpcontent/uploads/ 2013/11/DP-65-Caribbean-Tourism-Industry-Development-2005.pdf