การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานติดตามคนหายในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม

Main Article Content

ดำรงศักดิ์ ขวนขวาย

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานติดตามคนหายในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการติดตามคนหายและป้องกันอันตรายจากการสูญหายของผู้สูงอายุ  ที่มีภาวะสมองเสื่อม โดยเสนอให้เห็นถึงลักษณะอาการของโรคสมองเสื่อมที่มาจากความผิดปกติทางสมองและส่งผลต่อพฤติกรรม ความทรงจำ การสื่อสาร และการตัดสินใจของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมที่เป็นสาเหตุสำคัญต่อการหายออกไปจากบ้านในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม พฤติกรรมของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมในช่วงเวลาของการสูญหายที่อาจก่อให้เกิดอันตรายกับตนเองและผู้อื่นได้ ซึ่งจากสถิติของการหายออกไปจากบ้านเป็นระยะเวลามากกว่า 24 ชั่วโมง มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายและการเสียชีวิตมากที่สุด ดังนั้นจึงได้มีแนวคิดริเริ่มในการกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานในการติดตามคนหายในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม ซึ่งจะนำกลยุทธ์และวิธีการของการติดตามคนหายรวมถึงการรับแจ้งเหตุที่รวดเร็ว ที่เป็นการเพิ่มโอกาสให้พบตัวคนหายในระยะเวลาอันสั้น เพื่อป้องกันอันตรายและพากลับคืนสู่ครอบครัวอย่างปลอดภัย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Jirapraphai, K. and Naumphet, T. (2018). Press release "What do the statistics say?

Elderly, present and future". Retrieved July 13, 2020. from

http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/Press_Release/2561/N10-04-61-1.aspx.

Kantita, S. (2019). Criminal Psychology Criminal Behavioral Analysis, Mental Disorder

and Homicide. 1st. Bangkok : Poomkanpim Ltd. (In Thai)

Khaosod Online. (2022). The 81-year-old eye is suffering from Alzheimer's disease.

disappear from home

MacAndrew, M., Schnitker, L., Shepherd, N., & Beattie, E. (2018). People with dementia

getting lost in Australia: Dementiarelated missing person reports in the

media. Australasian journal on Ageing. 2018(Volume37), Issue3. E97-E103.

Patchara, S. (2009). People's Guide to Missing Person Tracking. 1st .Nakhon

Pathom: Office of the Research Fund. (In Thai).

Found again as a corpse drowned in the Wang River. Retrieved August 30, 2022. from https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_6582123

Rowe, M. A., Vandeveer,S.S., Greenblum, C. A,List,L. N., Fernandez,R. M., Mixson, N. E., &

Ahn, H.C. (2011). Persons with dementia missing in the community: Is it wandering or something unique. BMC Geriatrics. 2011, 28(1).

The Mirror Foundation. (n.d.). Dementia type missing person guide. Retrieved August 30, 2022. from http://web.backtohome.org/guide5.php.

The Mirror Foundation. (2009). Guide to prevent lost children. Retrieved August 30, 2022. from http://www.backtohome.org/autopagev4/filedownload/manual.pdf.

Weerasak, M. (2019). Dementia : Prevention, Assessment and Care. 5th.

Bangkok: Parbpim Ltd., part. (In Thai).