การสืบเสาะและพินิจในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายปัญหาการแสวงหาข้อเท็จจริงหรือการสืบเสาะและพินิจผู้กระทำผิดในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา และเพื่อเสนอแนวทางการสืบเสาะและพินิจให้เกิดความเป็นธรรมในการพิจารณาคดี ซึ่งจากการทบทวนแนวคิดและทฤษฎีทางอาชญาวิทยากับความเป็นธรรมในการพิจารณากำหนดโทษและการแก้ไขฟื้นฟู นำมาสู่ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนางานสืบเสาะและพินิจ ประกอบด้วย ข้อเสนอแนะเชิงกฎหมายที่ควรปรับแก้กฎหมายโดยบัญญัติให้ดำเนินการสืบเสาะและพินิจในทุกคดีตามหลักความยุติธรรมในการพิจารณากำหนดโทษ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายทางอาญาในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีจัดทำข้อมูลผู้กระทำผิดและส่งต่อข้อมูลให้แก่หน่วยงานในระบบงานยุติธรรมเพื่อประกอบการวางแผนแก้ไขฟื้นฟูรายบุคคล และข้อเสนอแนะเชิงวิชาการต่อการใช้ประโยชน์จากรายงานสืบเสาะและพินิจในการพิจารณามาตรการทางเลือกแทนการลงโทษจำคุกหรือการเบี่ยงเบนคดีออกจากกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อที่จะคลี่คลายวิกฤตของวงจรนักโทษล้นเรือนจำ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ถิอว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรั้บผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ก่อนเท่านั้น
References
Department of Corrections. (2021). National Prisoner Statistics 2020. Retrieved May 21, 2021. from http://www.correct.go.th/stathomepage/. (In Thai).
Jayagupta, A. (1999). Prosecutorial Discretion not to Prosecute. Master of Laws Thesis, Ramkhamhaeng University, Bangkok. (In Thai).
Lertpanichpan, S. (1996). Revision of power and responsibility of probation officer. Master of Laws Thesis, Chulalongkorn University, Bangkok. (In Thai).
Na Nakorn, K. (2010). Roles of Public Prosecutors in Supervision. 4th Edition. Bangkok, Thailand: Chutima Printing. (In Thai).
Office of Judicial and Legal Affairs. (2016). Act Amending the Penal Code (No.25), B.E.2559. Retrieved May 15, 2021. from https://jla.coj.go.th/th/content/category/detail/id/8/cid/113/iid/121232. (In Thai).
Phoglad, S. (2020). Social Work in the Criminal Justice System: Roles of Forensic Social Worker for Creating Social Security and Peace and Reducing Social Inequality to Reach the Goals of the 20-Years-Strategy of the Ministry of Justice (B.E. 2560-2579). Retrieved May 1, 2021. from https://socadmin.tu.ac.th/uploads/socadmin/file_research/research_Split/7.pdf. (In Thai).
Siege, L. J. (2013). Criminology; Theory, Patterns and Typologies. 11th Edition. United States of America: WADSWORTH CENGAGE learning.
Sinthunawa, P. (2013). Roles and Duties of Probation Officer in the Presentence Investigation. 1st Edition. Bangkok, Thailand: Department of Probation. (In Thai).
Supreme Court of Japan. (2019). Outline of Criminal Justice in Japan 2019. Retrieved January 4, 2021. from https://www.courts.go.jp/english/vc-files/courts-en/file/Outline_of_Criminal_Justice_in_JAPAN_2019.pdf
Suthikaneung, S. (2009). The introduction of factual evidence made favor of the accused in the criminal procedure. Master of Laws Thesis, Dhurakij Pundit University, Bangkok. (In Thai).
The Thailand Institute of Justice. (2014). Women prisoners and the implementation of the Bangkok Rules in Thailand. Bangkok: Thailand Institute of Justice (Public organization). 1st Edition. Bangkok, Thailand: The Thailand Institute of Justice. (In Thai).
United States District Court. (2011). Worksheet for Presentence Report. Retrieved February 2, 2020. from http://www.flsp.uscourts.gov/forms/Form_1.pdf
U.S. Government Publishing Office Washington. (2016). Federal Rules Of Criminal Procedure. Retrieved May 5, 2021. from https://www.uscourts.gov/sites/default/files/rules-of-criminal-procedure.pdf