การส่งเสริมการศึกษาในวิชาอาชญากรรมไซเบอร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้เป็นบทความปริทัศน์ เพื่อรวบรวม จัดหมวดหมู่ แยกแยะองค์ประกอบของวิชาอาชญากรรมไซเบอร์ และเสนอความเห็นเพื่อยกระดับให้มีความเป็นวิชาการ มีทิศทาง และเห็นความจำเป็นอย่างชัดเจนในการบูรณาการวิชาการศึกษาอาชญากรรมไซเบอร์สำหรับโรงเรียนนายร้อยตำรวจ เพื่อให้เป็นสถาบันการศึกษาหลักของชาติในการผลิตบุคคลากรด้านกระบวนการยุติธรรมยุคดิจิทัล และเตรียมความพร้อมรับมือภัยคุกคามจากโลกอนาคตที่กำลังคืบคลานเข้ามาอย่างรุนแรง
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ถิอว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรั้บผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ก่อนเท่านั้น
References
2. พรชัย ขันตี. (2558). ทฤษฎีอาชญาวิทยา: หลักการ งานวิจัย และนโยบายประยุกต์. กรุงเทพมหานคร: ส.การพิมพ์.
3. พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2529). ศาสตร์แห่งการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
4. รัตนะ บัวสนธ์. (2560). ปรัชญาวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5. Financial Action Task Force (FATF). (2015). Guidance for a RISK-BASED approach. VIRTUAL CURRENCIES. France: Paris Cedex.
6. Kabay M. E. (2008). A Brief History of Computer Crime: An Introduction for Students. School of Graduate Studies, Norwich University.
7. Larry E. Daniel, Lars E. Daniel. (2559). การตรวจพิสูจน์หลักฐานดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย. สุนีย์ สกาวรัตน์, ผู้แปล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง.
8. Petter Gotschalk. (2010). Policing Cyber Crime. Retrieved June 22, 2018. from https://bookboon.com/en/policing-cyber-crime-ebook.