ความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้จากโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทสมาร์ทโฟน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม เพื่อหาองค์ความรู้ในเรื่องที่เป็นประเด็นข่าวที่สังคมให้ความสนใจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารายละเอียดต่างๆ ที่มีส่วนส่งเสริมให้พยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้จากโทรศัพท์เคลื่อนที่มีความน่าเชื่อถือ โดยรายละเอียดดังกล่าวประกอบด้วยวิธีปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ในการเก็บรวบรวมหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้จากโทรศัพท์เคลื่อนที่ การนำหลักฐานจากอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปใช้เป็นหลักฐานทางกฎหมาย เครื่องมือที่ใช้พิสูจน์หลักฐานที่เกี่ยวกับโทรศัพท์เคลื่อนที่และการรับฟังและชั่งน้ำหนักพยานของศาล ผลการศึกษาสรุปความได้ว่า การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วยวิธีตรวจสอบค่า CRC หรือ แฮช เป็นทางเลือกหนึ่งของวิธีการที่จะช่วยให้พยานหลักฐานอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้จากโทรศัพท์เคลื่อนที่มีความน่าเชื่อถือ
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ถิอว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรั้บผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ก่อนเท่านั้น
References
2. เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์ และสมชัย บวรกิตติ. (2555). วิวัฒนาการโทรศัพท์ มือถือในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา. วารสารราชบัณฑิตยสถาน. 37(4): 41-51.
3. สถาบันฝึกอบรมและวิจัยการพิสูจน์หลักฐานตำรวจ. (2559). คุณลักษณะเฉพาะเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2561. เข้าถึงได้จากhttps://www.iftr.forensic.police.go.th/iftr/html/tor_science.php.
4. สุวิมล แก้วคูณ. (2557). การใช้ข้อมูลที่ได้จากโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นพยานหลักฐานคดีอาญาในชั้นศาล. เอกสารวิชาการหลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูงรุ่นที่ 18. วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม.
5. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2552). พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2544. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2561. เข้าถึงได้จากhttps://www.bot.or.th/Thai/PaymentSystems/PSServices/i as/ICAS_Printout/พรบ20%ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์.pdf.
6. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2551). พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ.2477. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2561. เข้าถึงได้จาก https://www.dnp.go.th/mfcd3/division/LAW1/ระเบียบ-กฎหมาย/ป.วิอาญา%202477.pdf.
7. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. (2553). องค์ความรู้เรื่องกระบวนการเก็บรวบรวมและรักษาความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานทางอิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2561. เข้าถึงได้จาก https://pc.edupol.org/do wnload/KM2.pdf.
8. Hippel, E.V. (1994). "Sticky Information" and the Locus of Problem Solving: Implications for Innovation. Management Science. 40(4): 429-439.
9. Jain, S. and Chouhan, H.H. (2014). Cyclic Redundancy Codes: Study and Implementation. International Journal of Emerging Technology and Advanced Engineering, 4(4): 213-217.
10. Raghavan, S.V. (2013). A Study of Forensic & Analysis Tools. Retrieved April 10, 2018.from https://pdfs.semanticscholar.org/21d9/0ab811a068b12ace491c3ab301872163346e.pdf