การประยุกต์ใช้เครื่อง ESDA ในการตรวจพิสูจน์ลายมือชื่อลายมือเขียน และพยานหลักฐานทางเอกสารในงานทางนิติวิทยาศาสตร์

Main Article Content

อมรเทพ พลศึก

บทคัดย่อ

การตรวจพิสูจน์รอยกดโดยเครื่อง Electro Static Detection Apparatus (ESDA) สามารถนำมาใช้ในการตรวจหารอยกดที่พบบนแผ่นกระดาษ ที่ไม่อาจมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า โดยเครื่องพิสูจน์รอยกด ESDA นี้ ใช้หลักการทางประจุไฟฟ้าสถิต เป็นวิธีการที่ไม่ทำลายตัวอย่างสามารถนำมาใช้ตรวจพิสูจน์และติดตามได้ว่าต้นฉบับของเอกสารนั้นมีที่มาจากใด หรือฉีกออกจากหนังสือหรือกระดาษเล่มใด ทั้งยังสามารถพิสูจน์ได้ถึงการเขียนต่อเติมข้อความหรือตัวอักษร รวมถึงสามารถบอกล าดับของเอกสารที่ปรากฏรอยกดนั้นว่าอยู่ในหน้าล าดับที่เท่าใด ซึ่งสามารถช่วยในการเชื่อมโยงความเกี่ยวเนื่องของเอกสารที่น ามาตรวจพิสูจน์และสามารถน ามาใช้เป็นหลักฐานในคดีได้โดยเครื่องพิสูจน์รอยกด ESDA นั้นสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการตรวจพิสูจน์ด้านอื่นได้ด้วย เช่น การพิสูจน์รอยพิมพ์นิ้วมือบนกระดาษ การตรวจรอยเท้า (foot print) เป็นต้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

1. สมชาย อมรสุนทรสิริ. (2556) เทคนิคการตรวจลายมือชื่อ.(เอกสารประกอบการสอน). กรุงเทพฯ.สถาบัน
นิติวิทยาศาสตร์. (อัดส าเนา)

2. ประมูล สุวรรณศร. (2556). ค าอธิบายกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน.(พิมพ์ครั้งที่ 8).กรุงเทพฯ :
แสวงสุทธิการพิมพ์.

3. Jasuja, O.M.P and Singla, A.K. (1995).Application of the ESDA in demonstrating traced
forgeries. Forensic Science International, 75(1), 25 – 28

4. Barr,K.J.,Pearse,M.L. and Welch,J.R. (1995). Secondary impressions of writing and ESDA
detectable paper-paper friction.Science and justice, 36(2), 97 – 100

5.Fieldhouse, S.J., and Kalantzis, N. and Platt, A.W.(2011).Determination of the sequence
of latent fingermarks and writing or printing on white office paper. Forensic
Sciences International, 206(1-3), 155-160

6. Farasat, S.(1996).Expert opinion in handwriting identification : an unnecessary burden.
National Law School of India University, Bangalore, P.420- 442