การเปรียบเทียบระบบการบันทึกและสืบค3นข3อมูลบุคคลสูญหาย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบระบบการบันทึกและสืบค้นข้อมูลบุคคลสูญหายเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบและขั้นตอนการบันทึก และการสืบค้นบุคคล
สูญหายของหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบในประเทศไทย ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบันทึกและสืบค้นข้อมูลบุคคลสูญหายและศึกษาแนวทางในการพัฒนาระบบรวมศูนย์ข้อมูลบุคคลสูญหายโดยผลการวิจัยพบว่า 1. มีหลายหน่วยงานของรัฐและองค์กรอิสระที่มีบทบาทในการรับแจ้งและติดตามบุคคลสูญหายโดยแต่ละหน่วยงานมีฐานข้อมูลเป็นของตนเองและมาตรฐานการบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน 2. ปัญหาและอุปสรรคของการบันทึกและสืบค้นเพื่อติดตามบุคคลคือการขาดเอกภาพในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขาดกระบวนการทํางานที่เป็นมาตรฐานที่สามารถอ้างอิงข้อมูลระหว่างกันโดยไม่ต้องทํางานซ้ําซ้อนและสิ้นเปลืองทรัพยากรในการบริหารจัดการ 3.จากการสัมภาษณ์และประชุมกลุ่มย่อยต่างเห็นด้วยที่รัฐบาลควรที่จะเป็นแกนกลางให้มีระบบการบันทึกและสืบค้นบุคคลสูญหายแห่งชาติ
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ถิอว่าเป็นข้อคิดเห็นและความรั้บผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ ก่อนเท่านั้น
References
2. กองบัญชาการตํารวจภูธร ภาค 7 และโรงเรียนนายร้อยตํารวจ. (ม.ป.ป.)งานรวบรวมข้อมูลการลัดพาคนและคนหายที่จะต้องสืบสวนค้นหา.
3. พัชรา สินลอยมา, โสรัตน์ กลับวิลา, วรธัช วิชชุวาณิชย์ และชัชนันท์ ลีระเติมพงษ์.(2552).คู่มือการสืบสวนติดตามคนหาย.นครปฐม:โรงเรียนนายรอยตํารวจ.
4. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวDาดวยการสนับสนุนการปฏิบัติงานของศูนยติดตามคนหายและระบบพิสูจน์ศพนิรนามพ.ศ.2558.(2558,เมษายน 29).ราชกิจจนานุเบกษาเล่ม 132ตอนพิเศษ 98(ง)
5. สํานักงานตํารวจแห่งชาติ. คําสั่งสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ที่ 476/2554 เรื่องจัดตั้งศูนย์บริหารจัดการคนหายและศพนิรนาม.ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2554.
-----------. คําสั่งศูนย์บริหารจัดการคนหายและศพนิรนาม ที่ 1/2554. ลงวันที่ 15 กันยายน 2554
6. สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2553).เอกสารสรุปสาระสําคัญมติคณะรัฐมนตรี. ฉบับตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคมถึงวันที่ 28 กันยายน 2553.
7. สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม .ค้นหาข้อมูลบุคคลสูญหาย.(ม.ป.ป.)รายงานประจําปี 2554
8. Henderson, M & Henderson, P (1998).Missing People: issues for the AustralianCommunity.Commonwealth of Australia, Canberra.
9. Hickman, M.J., K.A. Hughes, K.J. Strom, and J.D. Ropero-Miller, Medical Examiners and Coroners’ Offices. (2004), Washington, DC: U.S. Department of Justice. Bureau of Justice Statistics, June 2007, retrieved on 3 March 2013 from http://www.ojp.usdoj.gov/bjs/pub/pdf/meco04.pdf.
10. LuizAntomio, F., Wilkon, V.,Dalmo, A., Geraldo, M. Lede, F.&Benisio, F.(2009). Missing and unidentified persons database. Forensic Science International: Genetics
Supplement Series 2(2009), pp 255-257
11. Ritter, N. (2007). Missing persons and unidentified remains: The nation’s silent mass disaster.NIJ Journal, 256, 2–7. January 2007, retrieved on 3 March 2013 from http://www.nij.gov.journals/256/missing-persons.html .
12. U.S. Department of Justice, Office of Justice Programme.NamUs National Missing and Unidentified Person System.retrieved on 3 March 2013 from
http://www.namus.gov/