Difference a Slow Method

Main Article Content

David Michael Croft

Abstract

The article, "Difference a Slow Method," has been written in response to a workshop delivered by the author to five students of Multidisciplinary Art in the Fine Art Faculty of Chiang Mai University. The article considers a visual/material thinking methodology that is practiced as a teaching aid by the author, and shows how the methodology works in practice through a particular project. On this occasion the methodology is introduced to students with no previous experience of such a process. The article introduces and discusses this methodology through some background theory and the creative efforts of the students themselves. The project in which the students are involved, which is also introduced theoretically and discussed through the students' practice, concerns the post-modern concept of difference, in this instance relating to individual aspects of human identity. Besides this, the theoretical structure of the methodology is discussed in relation to how the students individually explored the project. It is hoped that the workshop's two components, and how they interact, may be of interest to artist professionals and art & design educators and students.


บทความเรื่อง “Difference a Slow Method” เขียนขึ้นเพื่อตอบสนองต่อการอบรมเชิงปฏิบัติการที่ผู้เขียนได้จัดอบรมนักศึกษาห้ารายจากสาขาวิชาสหศาสตร์ศิลป์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทความนี้พิจารณาศึกษาระเบียบวิธีการคิดแบบ Visual/ Material Thinking ซึ่งผู้เขียนใช้เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน บทความนี้ยังแสดงให้เห็นว่าระเบียบวิธีนี้สามารถใช้ในทางปฏิบัติได้โดยผ่านโครงงานหนึ่ง ๆ ในโอกาสนี้ได้มีการนำเสนอระเบียบวิธีนี้ให้นักศึกษาที่ไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับกระบวนการการคิดแบบนี้มาก่อน ได้เรียนรู้กัน บทความนี้นำเสนอและอภิปรายระเบียบวิธีนี้ผ่านทฤษฎีพื้นฐานและให้นักศึกษาได้ลองปฏิบัติงานที่ใช้ความสร้างสรรค์ด้วยตนเอง โครงงานที่นักศึกษาได้มีส่วนร่วม ซึ่งได้มีทั้งการสอนภาคทฤษฎีและการอภิปรายผ่านการให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติงานจริงนั้น มีความสัมพันธ์กับมโนทัศน์ยุคหลังสมัยใหม่ (Post Modern) ของ ความแตกต่าง ซึ่งในกรณีนี้ สัมพันธ์กับองค์ประกอบอันเป็นปัจเจกของอัตลักษณ์ของมนุษย์ นอกจากนี้ ยังมีการอภิปรายโครงสร้างเชิงทฤษฎีของระเบียบวิธีนี้ โดยเชื่อมโยงว่านักศึกษาแต่ละรายศึกษาหาความรู้ในโครงงานนี้อย่างไร เป็นที่หวังว่าองค์ประกอบทั้งสองส่วนของการอบรมเชิงปฏิบัติการ และการมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันระหว่างองค์ประกอบทั้งสองนี้ อาจเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบอาชีพด้านศิลปะ ตลอดจนบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนนักศึกษาด้านศิลปะและการออกแบบ

Article Details

Section
Articles