บทบาทวิทยุชุมชนในการเสริมสร้างการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Main Article Content

ชัชวาล ชุมรักษา
ขรรค์ชัย แซ่แต้
พลากร คล้ายทอง

บทคัดย่อ

วิทยุชุมชนเป็นสื่อการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนที่เป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดแนวคิดเนื้อหาข้อมูลและความรู้ของชุมชนต่าง ๆ จากสังคมสู่ชุมชนจากชุมชนสู่ชุมชนและชุมชนสู่สังคม และวิทยุชุมชนเป็นเครื่องมือสำคัญในขับเคลื่อนให้ชุมชนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน  มีบทบาทในการเสริมสร้างการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งด้านเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อมสังคมและวัฒนธรรม โดยผ่านกระบวนการพัฒนาด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) มุมมอง (Perspectives) และค่านิยม (Values) ของคนในสังคม เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่สภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่สมดุลและยั่งยืน


 


 

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ
Author Biographies

ชัชวาล ชุมรักษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยทักษิณ

ขรรค์ชัย แซ่แต้, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

อาจารย์ ดร. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

พลากร คล้ายทอง, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

อาจารย์  สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2555). คู่มือวิทยุชุมชน (FNS). สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2555, จากhttp://www.fmkorat.com/doc /doc01. doc.

กาญจนา เงารังสี. (2559). “การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน Education for Sustainable Development (ESD),” วารสารสมาคมนักวิจัย. ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2555). แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 1. (2555-2559). สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2555, จาก http://www.nbtc. go.th/.

จิรพร วิทยศักดิ์พันธ์ และนาฏยา ตนานนท์. (2550). คู่มือวิทยุชุมชน. เชียงใหม่ : คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อภาคเหนือ.

เจษฎา ศาลาทอง. (2555). สื่อกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. NHK World เรดิโอเจแปน แผนกภาษาไทย.

ฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์ และวีระยุทธ กาญจนชูฉัตร. (2546). แนวคิดวิทยุชุมชนและการศึกษาที่เกี่ยวข้องหอมดินอีสาน. อุบลราชธานี : จัดพิมพ์โดยเครือข่ายสื่อภาคประชาชนภาคอีสาน.

ทองหล่อ เที่ยงธรรม. บทบาทของวิทยุชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในชุมชน. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน

, จาก http://mis.ptu.ac.th/journal/data/3-2/3-2-8. pdf)

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2562, 9 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 89 ง, หน้า 38.

ประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2552, 24 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 126, ตอนที่ พิเศษ 104 ง, หน้า 6-14.

ปรียานุช ธรรมปิยา. ยูเนสโกระดมสมอง สู่อนาคตการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2653, จาก, http://www.sufficiencyeconomy.org.

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์. (2551, 4 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 126, ตอนที่ 42 ก, หน้า 61-91.

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม. (2553, 19 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 127, ตอนที่ 78 ก, หน้า 1-64.

พูลสมบัติ นามหล้า. (2562). วิทยุชุมชน : การมีส่วนร่วมของประชาชนในสื่อเพื่อชีวิตและสังคมท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2562, จาก https://prachatai.com/journal/2009/06/24613)

เพ็ญประภา ภัทรานุกรม. (2553). “วิทยุชุมชน : การจัดการความรู้ (หรือความจริง) เพื่อชุมชน,” วารสารร่มพฤกษ์. 28(1) ตุลาคม 2552 - มกราคม 2553

เฟรเชอร์ คอรินและ เอสตราดา โซเนียเรสเตรโพ. (2001). คู่มือวิทยุชุมชน. กรุงเทพฯ : องค์กรเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก).

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2540, 11 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 114, ตอนที่ 55 ก, หน้า 1-99.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2550, 24 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124, ตอนที่ 47 ก, หน้า 1-127.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (2560, 6 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134, ตอนที่ 40 ก, หน้า 1-90.

สหพันธ์วิทยุชุมชนแห่งชาติ. (2555). ๑ ทศวรรษ วิทยุชุมชนไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ (Heinrick Boll Stiftung South East Asia).

ออนโดโบ โคลด. (2544). “อารัมภบท,” คู่มือวิทยุชุมชน. กรุงเทพ : องค์กรเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก).

อำไพ หรคุณารักษ์. (2550). คิด มองคาดการณ์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย. นนทบุรี :

ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย.

ACCU. (2009). Hope Declaration. Retried November 8, 2012. Fromhttp://www.accu.or.jp/ esd/mtstatic/news/topics/Tokyo_Declaration_of_HOPE%28English_version%29.pdf.Barker,

UN Department of Economic and Social Affairs. (2012). Core Publications Agenda 21. Division for Sustainable Development. Retried November, 2012, from http://www.un.org/esa/ dsd/ agenda21/res_agenda21_36.shtml.

UNESCO EOLSS. (2007). Knowledge for Sustainable Development: An Insight into the Encyclopedia of Life Support Systems. Retried June 30, 2014, from http://www.eolss. net/eolss_ksd.aspx.

UNESCO. (2008). Media as partners in ESD : A training and resource kit. Paris : UNESCO.

UNESCO. (2012). Education for Sustainable Development. Bangkok : Retried November 7, 2012, from http://www.unescobkk.org/th/education/esd/esd-home/esd-in thai/UNCountryTeamThailand.

Mobile Friendly Websites. Media Disruption: EP6 เมื่อ ‘วิทยุไทย’ ถูก ‘การเมือง-สื่อใหม่’ Disrupt.

สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2563, จาก, https://www.tcijthai.com/news/2019/11/scoop/9558).

Mobile Friendly Websites. Media Disruption: EP1 ไทม์ไลน์และพฤติกรรมผู้เสพสื่อที่เปลี่ยนไปใน

ระดับโลก. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2563, จาก, https://www.tcijthai.com/news/2019 /8/scoop/9281.