การเรียนรู้เชิงรุกของครูสังคมศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0

Main Article Content

วิภาพรรณ พินลา
วิภาดา พินลา

บทคัดย่อ

การเรียนรู้เชิงรุกของครูสังคมศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 เป็นกระบวนการเรียนรู้ยุคใหม่ที่ผู้เรียนการเรียนรู้อย่างตื่นตัวและมีชีวิตชีวา โดยผู้เรียนมีส่วนริเริ่มและจดจ่อกับเนื้อหาอย่างต่อเนื่อง จากการสร้างองค์ความรู้ มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นเพื่อผู้คอยอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาสังคมศึกษามี 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 การเผชิญหน้ากับปัญหาสังคมศึกษา ขั้นที่ 2 การระบุสาเหตุของปัญหาสังคมศึกษา ขั้นที่ 3 การหาวิธีการพิสูจน์ความจริงสังคมศึกษา และ ขั้นที่ 4 การสรุปข้อค้นพบสังคมศึกษา จากขั้นตอนดังกล่าวสามารถนำมาพัฒนาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสังคมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความทางวิชาการ
Author Biographies

วิภาพรรณ พินลา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ 140 ม. 4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000

วิภาดา พินลา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

มหาวิทยาลัยทักษิณ 140 ม.4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 โทร 074317600 ต่อ 3801

References

กิตติพันธ์ วิบุลศิลป์. (2560). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดห้องเรียนกลับทางร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุกที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จรรยา ดาสา. (2552). 15 เทคนิคในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนเชิงรุก. นิตยสาร สสวท. 36(163), 72-76.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2553). Active Learning. ข่าวสารวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ณฐกร ดวงพระเกษ. (2560). รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะนักศึกษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์. 18(2), 216-220.

ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ. (2550). ภาวะผู้นำและนวัตกรรมทางการศึกษา: บทบาทของครูกับ ActiveLearning. [ออนไลน์]. วันที่ค้นข้อมูล 15 มีนาคม 2562, เข้าถึงได้จาก https://genedu.kku.ac.th.

ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ. (2560). การเรียนเชิงรุก (Active Learning). [ออนไลน์]. วันที่ค้นข้อมูล 18 กุมภาพันธ์ 2559, เข้าถึงได้จาก http://pirun.ku.ac.th/.

ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นนทลี พรธาดาวิทย์. (2559). การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). การศึกษา 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

ศักดา ไชกิจภิญโญ. (2548). เรียนอย่างไรให้ Active Learning. วารสารนวัตกรรมการเรียนการสอน. 2(2), 12-15.

สาวิตรี โรจนะสมิต อาร์โนลด์. (2555). การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนเชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

Biech, Elaine. (2015). 101 Ways to Make Learning Active Beyond the Classroom. Hoboken, New York : John Wiley and Sons, Inc.

Bonwell, C. C.; and Eison, J. A. (1991). Active Learning: Creating excitement in the classroom.ASHE-ERIC Higher Education Report. No.1. Washington, DC : The George Washington University, School of Education. 2(1), 2-5.

Grabinger, R.S. (1996). Rich Environments for Active Learning. In David Jonassen. Handbook of Research for Educational Communications and Technology.Washington, D.C. : AECT. Singapore of Education.

Sterns, S. A. (1994). Steps for active learning of complex concepts. College Teaching.42(2), 107-108.

Sweller, J. (2006). The worked example effect and human cognition: Learning and Instruction. NewJersey : Educational Technilogies.