องค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสาธิตที่มีประสิทธิผลสังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ

Main Article Content

ตระกูลพันธ์ ยุชมภู
โสภา อำนวยรัตน์
สันติ บูรณะชาติ
น้ำฝน กันมา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหารโรงเรียนสาธิตที่มีประสิทธิผล สังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ประกอบจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และจากการพิจารณาร่างองค์ประกอบการบริหารโรงเรียนสาธิตที่มีประสิทธิผล สังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ด้วยวิธีการสัมภาษณ์กลุ่มจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ ตารางบันทึกการสังเคราะห์องค์ประกอบของการบริหารโรงเรียนสาธิตที่มีประสิทธิผล สังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ แบบสังเคราะห์ตัวแปรองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารโรงเรียนสาธิตที่มีประสิทธิผล สังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และแบบสัมภาษณ์กลุ่ม เพื่อพิจารณาร่างองค์ประกอบและแนวทางการบริหารโรงเรียนสาธิตที่มีประสิทธิผล สังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และข้อเสนอแนะอื่น ๆ


ผลการวิจัยพบว่า  ได้องค์ประกอบและแนวทางการบริหารโรงเรียนสาธิตที่มีประสิทธิผล สังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ จำนวน 3 ด้าน 16 องค์ประกอบ ประกอบด้วย ด้านปัจจัยนำเข้า ได้แก่ การบริหารจัดการ บุคลากร สภาพแวดล้อม เครือข่ายร่วมพัฒนา ลักษณะองค์การ และภาวะผู้นำของผู้บริหาร ด้านกระบวนการ ได้แก่ การนำองค์การ การมุ่งเน้นบุคลากร การมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การมุ่งเน้นการปฏิบัติ การวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้ การกำหนดนโยบาย การวางแผนกลยุทธ์ และการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านผลผลิต ได้แก่ ด้านผู้เรียน และด้านหลักสูตรและการสอน

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ตระกูลพันธ์ ยุชมภู, วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา 19, หมู่ 2 ซอย 6 ตำบลแม่กา อำเภอเมืองพะเยา พะเยา 56000  

โสภา อำนวยรัตน์, วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาการศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา
19 หมู่ 2 ตำบลแม่กา อำเภอเมืองพะเยาจังหวัดพะเยา 56000

สันติ บูรณะชาติ, วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาการศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา 19 ซอย 10 หมู่ 2 ตำบลแม่กา อำเภอเมือง พะเยา 56000

น้ำฝน กันมา, วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาการศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา 19 ซอย 10 หมู่ 2 ตำบลแม่กา อำเภอเมือง พะเยา 56000

References

กมลวรรณ รอดจ่าย. (2552). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพโรงเรียนขนาดเล็ก. (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ).

กีรติ ยศยิ่งยง. (2550). การจัดการความรู้ในองค์การและกรณีศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ธรร กมลการพิมพ์. หน้า 72.

เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว. (2559). ช่องว่างทักษะกับนัยยะที่มีต่อการพัฒนากำลังคนของประเทศไทย. (รายงานการวิจัยคณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

เฉลิมลาภ ทองอาจ. (2553). โรงเรียนสาธิตที่แท้ : การจัดการเรียนรู้ตามปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 12(1), 71-93.

ชลธิชา จิรภัคพงค์และคณะ. (2554). คุณภาพการบริหารองค์กรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่. (รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

ณชัชา บุญประไพ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งการเรียนรู้กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี).

ทิวัตถ์ ศรีดำรงค์. (2556). การบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นโรงเรียนคุณภาพ : การศึกษาทฤษฎีฐานราก. (ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี).

ทิศนา แขมมณี. (2559). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงลักษณ์ เรือนทอง. (2550). รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล. (ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

ปิลัญ ปฏิพิมพาคม. (2550). รูปแบบภาวะผู้นำและประสิทธิผล ของผู้บริหารสถานศึกษาเอกชน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

มานะ สินธุวงษานนท์. (2550). ปัจจัยส่งเสริมการจัดการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพนักเรียน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 18(2), 123.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์. หน้า 64-66.

วราวุธ ตรีวรรณกุล. (2559). ปัจจัยความสำเร็จที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการบริหาร โรงเรียนสาธิตฝ่ายมัธยมสังกัด มหาวิทยาลัยของรัฐ. (ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, กรุงเทพฯ).

วริษฐา นาครทรรพ. (2559). สถานการณ์ปัญหาคุณภาพการศึกษาไทย. [ออนไลน์]. https://www. schoolofchangemakers.com/knowledge/9938

วสันต์ นาวเหนียว. (2550). แนวทางการจัดการที่เป็นเลิศของโรงเรียนเร่งสู่ฝัน. (ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก).

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2554). รูปแบบการพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 3(6), 22.

ศักดิ์นิพน สว่างวงศ์. (2557). เครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราช, 14(2), 12.

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2560). เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2561 - 2562. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตะวันออกจำกัด มหาชน.

สมาน อัศวภูมิ. (2559). ความเป็นเลิศและการจัดการความเป็นเลิศ. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 16(1), 2-3.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). แนวทางการจัดการศึกษาว่าด้วยสิทธิขององค์กรชุมชนและองค์กรเอกชน ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศูนย์การเรียน. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟิก.

สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. (2561). ฐานข้อมูลโรงเรียนสาธิตในประเทศไทย. [ออนไลน์]. http://www.satit.mua.go.th/dataS.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561). กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค จํากัด.

สำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2560). กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ พ.ศ. 2559-2563. กรุงเทพฯ : สำนักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องค์การมหาชน.

สุดาวรรณ เครือพานิช. (2549). โรงเรียนดีมีคุณภาพ. วารสารวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 9(4), 82.

สุภัทร พันธ์พัฒนกุล. (2558). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีประสิทธิผล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 5(2), 172.

สุรพล พิมพ์สอน. (2557).กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40. วารสารครุศาสตร์, 42(3), 64.

อโณทัย ไทยวรรณศรี. (2561). การพัฒนารูปแบบเครือข่ายการมีส่วนร่วมระหว่างบ้านและโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารบนพื้นที่สูง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(1), 211.

อนันต์ เตียวต๋อย. (2551). รูปแบบการบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. (ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

อมรรัตน์ เชิงหอม. (2557). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนประถมศึกษาทีส่งผลต่อคุณภาพนักเรียนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร).

Hoy, Miskel. (2001). Educational Administration : Theory, Research and Practice. (6). Mc Graw : Hill International Edition 2001.

Klamen, D. and Others. (2018). Definition and Characteristics of Academic Excellence. [online]. http://www.iun.edu/… and… Excellence.

Lunenberg.F.C., and Ornstein A.C. (2004). Educational Administration : Concepts and practices. (4). Belmont : Thomson learning.

Schermerhorn, J.R. (2005). Management. (7). New York: John Wiley & sons.

Thompson, Strickland. (1995). Strategic Management: Concepts and Cases. (8). International Student Edition USA : Irwin. Journal of Management & Organization.