การตัดสินใจย้ายถิ่นของนักศึกษาไทยเพื่อศึกษาต่อในประเทศมาเลเซีย

Main Article Content

ศันสนีย์ จันทร์อานุภาพ
นิสากร กล้าณรงค์
มูหำหมัด สาแลบิง
ศุภรัตน์ พิณสุวรรณ
ชีวนันท์ คุณพิทักษ์
สมสมัย เอียดคง

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเรื่อง  “การตัดสินใจย้ายถิ่นของนักศึกษาไทยเพื่อศึกษาต่อในประเทศมาเลเซีย”  มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในประเทศมาเลเซีย  บทความนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ  เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC*  กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาไทยที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรีในประเทศมาเลเซีย  จำนวน 258 คน  ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยดึง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.48) และปัจจัยเกื้อหนุน (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.30) มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในประเทศมาเลเซียมากกว่าปัจจัยผลัก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.85)  ปัจจัยดึงที่สำคัญ  เช่น  โอกาสการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24)  ปัจจัยผลักที่สำคัญ  เช่น  ค่านิยมในสังคมไทยที่ให้คุณค่าการศึกษาต่อต่างประเทศ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.68)  ปัจจัยเกื้อหนุนที่สำคัญ  เช่น  โอกาสการปฏิบัติศาสนกิจ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29)

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ศันสนีย์ จันทร์อานุภาพ, มหาวิทยาลัยทักษิณ

อ.ดร., คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ.เมือง จ.สงขลา 90000

นิสากร กล้าณรงค์, มหาวิทยาลัยทักษิณ

ผศ.ดร., คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ.เมือง จ.สงขลา 90000

มูหำหมัด สาแลบิง, มหาวิทยาลัยทักษิณ

ผศ., คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ.เมือง จ.สงขลา 90000

ศุภรัตน์ พิณสุวรรณ, มหาวิทยาลัยทักษิณ

ผศ., คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ.เมือง จ.สงขลา 90000

ชีวนันท์ คุณพิทักษ์, มหาวิทยาลัยทักษิณ

อ., คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ.เมือง จ.สงขลา 90000

สมสมัย เอียดคง, มหาวิทยาลัยทักษิณ

นักวิชาการ, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ.เมือง จ.สงขลา 90000

References

กุศล สุนทรธาดา. (2543). “การย้ายถิ่นไปทำงานต่างประเทศของแรงงานไทยในช่วงหลังวิกฤติเศรษฐกิจ”, ใน คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา. การประชุมวิชาการระดับชาติ สาขาสังคมวิทยา ครั้งที่ 1. 873-908. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา.

โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้. (2559, 11 สิงหาคม). “ศอ.บต.จัดตั้งศูนย์ประสานงานนักศึกษาไทยจังหวัดชายแดนภาคใต้ในต่างประเทศ”, ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้. สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2560, จา ก http://www.deepsouthwatch.org/dsj/th/9252.

วรรณา ก้องพลานนท์. (2559). “สภาพปัญหาและการปรับตัวด้านวัฒนธรรมของแรงงานไทยย้ายถิ่น รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย”, วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 10(2), 89-105.

ศันสนีย์ จันทร์อานุภาพ. (2554). ชีวิตนักเรียนไทยในต่างแดน สังคมวิทยาการย้ายถิ่น กรณีเรียนจบไม่กลับบ้าน. สงขลา : เหรียญทองการพิมพ์.

ศูนย์แนะนำการศึกษาต่อต่างประเทศ. (ม.ป.ป.). การศึกษาต่อประเทศมาเลเซีย. สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560, จาก http://www.educatepark.com.

สุภางค์ จันทวานิช. (2540). การย้ายถิ่นข้ามชาติในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก: ปัญหาและแนวโน้ม. กรุงเทพฯ : ศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (ม.ป.ป). การศึกษาต่อในประเทศมาเลเซีย. สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2560, จาก http://www.ocsc.go.th

Abd Hair Awang, Zaimah Ramli, Izzurazlia Ibrahim. (2012). “ Faktor tarikan pelajar siswazah antarabangsa ke universiti penyelidikan di Malaysia: GEOGRAFIA Online TM”, Malaysia Journal of Society and Space. 8(6), 32-41. Retrieved 20 October 2016, from http://www.ukm.my/geografia/ images/upload/4. geografia-sept%202012-abd%20hair-si-ppspp-ed%20kat1.pdf.

Gungor, N. D. and Tansel, A. (2007). “ Brain Drain from Turkey: An Investigation of Students’ Return Intensions”, Economic Research Center Working Papers in Economics 07/01 January 2007. Retrieved 20 October 2016, from http://repec.iza.org/dp2287.pdf

Hassan bin Hushin, Nurfarahiyah binti Mahmud. (2009). “ Tinjauan Kategori Masalah Dalam Kalangan Pelajar Antarabangsa”, UNIVERSITI TEKNOLOGI MALAYSIA, SKUDAI,

JOHOR DARUL TAKZIM. Teknik Dan Vokasional, Tahun (2009), 1-7. Retrieved 20 October 2016, from http://eprints.utm.my/10263/2/Nurfarahiyah_binti_Mahmud.pdf.

Klimaviciute Luka. (2017). To Stay or Not to Stay: The Calculus for International STEM Students in the United States. Retrieved 20 October 2016, from http://www.migrationpolicy.org/article/stay-or-not-stay-calculus-international-stem-students-united-states.

Liew Chei Siang. (2012). “Analisis Kepuasan Terhadap Program Pengajian Dalam Kalangan Pelajar Antarabangsa di Malaysia”, PROSIDING PERKEM VII, JILID 2 (2012), 1019-1031. Retrieved 20 October 2016, from http://www.ukm.my/fep/perkem/pdf/perkemVII/PKEM2012_4A5.pdf.

Ministry of Higher Education. (2011). Education development plan for Malaysia (2001-2010). Malaysia. Retrieved 20 October 2016, from www.moe.gov.my.

Riki Taufiki, Amir Hasan Dawi. (2013). “Isu Sosial dan Akademik dalam Kalangan Pelajar Antarabangsa Indonesia di Universiti Pendidikan Sultan Idris”, Jurnal Pendidikan

Bitara UPSI. 6 (2013), 1-10. Retrieved 20 October 2016, from http://jpbu.upsi.edu.my/images/Jurnal.Vol6.Siri5/PB14.pdf.

Singh Manjet. (2015). Socio-economic, environmental and personal factors in the choice of country and higher education institution for studying abroad among international students in Malaysia. Retrieved 20 October 2016, from http://www.emeraldinsight.com/doi/abs/10.1108/IJEM-11-2014-0158

Singh, Schapper & Jack. (2016). The important of place for international student’s choice of University: a case study at a Malaysia University. Retrieved 20 October 2016, from http://journals.sagepub.com/doi/abs/10.1177/1028315314523990

Thai Student Association in Malaysia. (2016). TSAM. Retrieved 20 October 2016, from https://mytsam.org.