ความสัมพันธ์ระหว่างสถิติ การวิจัย และธรรมชาติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
สถิติศาสตร์เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของคณิตศาสตร์ ซึ่งพยายามใช้ตัวเลขอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยอาศัยเหตุผลการวิจัยเชิงปริมาณอาศัยสถิติเป็นเครื่องมือในการอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งสังเกตและวัดได้ในเชิงปริมาณด้วยเหตุที่การวิจัยเป็นการค้นคว้าหาความจริงในธรรมชาติ บทความนี้มุ่งอธิบายโดยเสนอตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างสถิติ การวิจัยและธรรมชาติในเชิงเหตุผลทางสถิติ
Article Details
How to Cite
บท
บทความทางวิชาการ
ในกรณีที่กองบรรณาธิการ หรือผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งได้รับเชิญให้เป็นผู้ตรวจบทความวิจัย หรือ บทความทางวิชาการมีความเห็นว่าควรแก้ไขความบกพร่อง ทางกองบรรณาธิการจะส่งต้นฉบับให้ ผู้เขียนพิจารณาจัดการแก้ไขให้เหมาะสมก่อนที่จะลงพิมพ์ ทั้งนี้ กองบรรณาธิการจะยึดถือความคิด เห็นของผู้เชี่ยวชาญเป็นเกณฑ์
References
จรัญ จันทลักขณา. (2553). ปริญญาชีวิต ชวนคิด-ชวนขัน. สงขลา: มาสเตอร์พีช แอนด์ โครเชท์ จำกัด.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม และเมธี ดิสวัสดิ์. (2557). “ความเป็นสาเหตุ เย ธมฺมา...คาถานักวิจัย”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 14(2), 32–45.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม และเมธี ดิสวัสดิ์. (2558). “สมมติฐานและวิธีการทางวิทยาศาสตร์”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 15(1), 13-27.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2542). “ความจริงและวิธีการค้นหาความจริง : ปรัชญาวิทยาศาสตร์และปรัชญาพุทธศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 4(1), 101-112.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2545). “หลักของการทดลอง” วารสารการวิจัยทางการศึกษา.(คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) 2(1), 170-181.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2557). “วิจัยและประเมิน”. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 20(1), 1 – 11.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2558). “ผู้มีวิถีปัญญา...ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต”. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. 13(2), 91-102.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2543). “มุมมองความคลาดเคลื่อนของการทดลองจาก ANOVA ใน CR-p Design” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 5(2), 25–38.
ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2558). การประยุกต์ใช้SPSSวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 7). มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ์.
ธรรมสภา. (2554). พจนานุกรมธรรมฉบับพุทธทาส. มปท.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2529).พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด.
ศิริชัย กาญจนวาสี และชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2557). “ตัวแปรสำหรับการวิจัย : ความหมาย ประเภท การคัดเลือก การวัด และการควบคุม”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 14(1) , 9-37.
ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวัฒน์ปิตยานนท์ และดิเรก ศรีสุโข. (2559).การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย.(พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก. (2534). สัจธรรมของชีวิต.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สำเริง บุญเรืองรัตน์.(2553).วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติกับคุณภาพของการวิจัย. นครราชสีมา: หจก.มิตรภาพการพิมพ์ 1995.
Glass, Gene V. and Hopkins, Kenneth D. (1996).Statistical Methods in Education and Psychology. 3rded. MA: Allyn&Bacon.
Kerlinger, F.N. (1992). Foundations of Behavioral Research. 3rd ed. Florida : Holt, Rinehart and Winstton, Ins.
Kirk, R.E. (1995). Experimental Design : Procedures for the Behavioral Sciences. 3rded. California :Brooks/Cole Publishing Company.
Rosenthal, R. &Rosnow, Ralph L. (1991).Essentials of Behavioral Research Methods and Data Analysis.(2nded.). Singapore: McGraw-Hill Book Co.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม และเมธี ดิสวัสดิ์. (2557). “ความเป็นสาเหตุ เย ธมฺมา...คาถานักวิจัย”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 14(2), 32–45.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม และเมธี ดิสวัสดิ์. (2558). “สมมติฐานและวิธีการทางวิทยาศาสตร์”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 15(1), 13-27.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2542). “ความจริงและวิธีการค้นหาความจริง : ปรัชญาวิทยาศาสตร์และปรัชญาพุทธศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 4(1), 101-112.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2545). “หลักของการทดลอง” วารสารการวิจัยทางการศึกษา.(คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) 2(1), 170-181.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2557). “วิจัยและประเมิน”. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 20(1), 1 – 11.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2558). “ผู้มีวิถีปัญญา...ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต”. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. 13(2), 91-102.
ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2543). “มุมมองความคลาดเคลื่อนของการทดลองจาก ANOVA ใน CR-p Design” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 5(2), 25–38.
ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2558). การประยุกต์ใช้SPSSวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 7). มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ์.
ธรรมสภา. (2554). พจนานุกรมธรรมฉบับพุทธทาส. มปท.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2529).พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด.
ศิริชัย กาญจนวาสี และชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม. (2557). “ตัวแปรสำหรับการวิจัย : ความหมาย ประเภท การคัดเลือก การวัด และการควบคุม”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 14(1) , 9-37.
ศิริชัย กาญจนวาสี, ทวีวัฒน์ปิตยานนท์ และดิเรก ศรีสุโข. (2559).การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสำหรับการวิจัย.(พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก. (2534). สัจธรรมของชีวิต.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สำเริง บุญเรืองรัตน์.(2553).วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติกับคุณภาพของการวิจัย. นครราชสีมา: หจก.มิตรภาพการพิมพ์ 1995.
Glass, Gene V. and Hopkins, Kenneth D. (1996).Statistical Methods in Education and Psychology. 3rded. MA: Allyn&Bacon.
Kerlinger, F.N. (1992). Foundations of Behavioral Research. 3rd ed. Florida : Holt, Rinehart and Winstton, Ins.
Kirk, R.E. (1995). Experimental Design : Procedures for the Behavioral Sciences. 3rded. California :Brooks/Cole Publishing Company.
Rosenthal, R. &Rosnow, Ralph L. (1991).Essentials of Behavioral Research Methods and Data Analysis.(2nded.). Singapore: McGraw-Hill Book Co.