การพัฒนาบทเรียนเอ็มเลิร์นนิงร่วมกับการเรียนรู้แบบนำตนเอง เรื่อง การเขียนโปรแกรม ภาษาไพทอนเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

การพัฒนาบทเรียนเอ็มเลิร์นนิงร่วมกับการเรียนรู้แบบนำตนเอง เรื่อง การเขียนโปรแกรม ภาษาไพทอนเบื้องต้น

Authors

  • ภาณุมาศ เทียมศรีรัชนีกร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Keywords:

: m-Learning, Self-Directed Learning, Python

Abstract

The purpose of this research were to; 1) develop m-Learning with self-directed learning on basic python programming language, 2) study the learning achievement of students learning through m-Learning with self-directed learning on basic python programming language and 3) study the students' satisfaction with m-Learning with self-directed learning. The sample group used in this research was 30 computer education students Nakhon Pathom Rajabhat University using simple random sampling. The research tools include self-directed learning management plan, m-Learning on basic python programming language, learning achievement test and satisfaction questionnaires. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation and dependent t-test.

The results of the research were as follows; 1) the m-Learning with self-directed learning on basic python programming language consisted of 4 units, and m-Learning was the very good quality (=4.93, S.D.=0.13) in content factor, very good quality (=4.84, S.D.=0.21) in lesson design factor and the efficiency level (E1/E2) at 80.17/89.50 which was according to 80/80 criteria, 2) the posttest score was significantly higher than the pretest score at .05 and 4) the students’ satisfaction with m-Learning with self-directed learning on basic python programming language was very good level (=4.48, S.D.=0.62)

References

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560). คู่มือการใช้หลักสูตร รายวิชาวิทยาศาสตร์. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 319 วังจันทรเกษม ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กทม. 10300
นวพร ชลารักษ์.2558.บทบาทของครูกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 The Teacher's Role and Instruction in The 21st Century. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทอร์น,ปีที่ 9 (ฉบับที่ 1),68
สาโรช โศภีรักข์. (2557-2558). M – Learning. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี, ปีที่ 3 (ฉบับที่ 2) 32-33.
ธิดา บุตรรักษ์. (2557, ตุลาคม-ธันวาคม). แนวโน้มการจัดการเรียนการสอนผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีในทศวรรษหน้า. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 8 (2), 74-85
Griffin colin. Curriculum Theory in Adoult Lifelong Education. London: croom Helm. 1983.
Grow, G. O. (1991). Teaching learners to be self-directed. Adult education quarterly, 41(3), 125-149.
วัชรพล วิบูลยศริน.(2557).หลักการออกแบบการสอนบนเว็บตามแบบจำลอง ADDIE เพื่อการผสอน สนทนาภาษาไทยเบื้องต้นสำหรับชาวต่างประเทศ.วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), ปีที่ 6 (ฉบับที่ 12), 196-198.
บุญชม ศรีสะอาด.(2542). วิธีการสถิติสำหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :สุรีวิยาสาร์น.
ศุภวรรณ์ เพชรอำไพ .(2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการ Mobile – Learning เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านการใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1. รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 1.
ธงชัย แก้วกิริยา.(2552-2553). E-Learning ก้าวไปสู่ M-Learning ในยุคสังคมของการสื่อสารไร้พรมแดน. วารสารร่มพฤกษ์, 112
เขมกร.(2560). การใช้การเรียนรู้แบบนำตนเอง เพื่อพัฒนา การเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 33.



.

Downloads

Published

2021-09-14