Development of analytical thinking of recitations for the students of Mathayomsuksa 3 by using multimedia in combination with Inquiry Cycle method

Authors

  • Tharapong Kankhum คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Keywords:

Analytical thinking of recitations, Multimedia Learning, Inquiry Cycle

Abstract

The purposes of this research were 1) to compare the ability to analyze the recitations of Mathayomsuksa 3 students by using multimedia and an inquiry method in comparison with the criterion of 80% and 2) to compare the academic achievement before and after learning with the multimedia and the inquiry method designed to boost analytical thinking of recitations Mattayomsuksa 3 students. The target group was 14 Mattayomsuksa 3 students at Ban Khlong Luek Phatthana School, Pang Sila Thong District, Kamphaeng Phet Province, in the 2nd semester of 2019 academic year, selected through purposive sampling. The research instruments were 1) 5 lesson plans that combined search-based teaching and multimedia, and 2) an achievement test used as a pretest and a posttest. The statistics for data analysis were means, standard deviations, the one-sample t-test and the dependent t-test. The results showed that
1) the students' analytical thinking after using multimedia combined with the inquiry method was higher than the set 80% criterion at the level of .05 of statistical significance and
2) the students' learning achievement after using multimedia combined with the inquiry method was higher than before using the multimedia and the inquiry method at the level of .05 of statistical significance.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
ดาวรุ่ง อยู่ยั่งยืน. (2552). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ
ความคิดสร้างสรรค์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญา กศ.ม.
(สาขาหลักสูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปกรณ์ ประจัญบาน. (2552). สถิติขั้นสูงสำหรับการวิจัยและประเมิน (Advanced statistics For Research and
Evauation). พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พรจงกล สุขสนาน. (2551). คุณค่าในบทอาขยานภาษาไทยระดับประถมศึกษา. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ศศ.ม. (สาขาวิชาภาษาไทย) มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ยลดา กุมารสิทธิ์. (2559). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง คบ.ม.
(สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
รัชย์ชวินท์ ยะอนันต์. (2557). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่มีลีลาการเรียนรู้แตกต่างกัน
โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้และกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.
(สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยนเรศวร.
โรงเรียนบ้านคลองลึกพัฒนา. (2561). รายงานพัฒนาคุณภาพนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองลึกพัฒนา. กำแพงเพชร :
โรงเรียนบ้านคลองลึกพัฒนา.
วรัญญา เศษฐาวงษ์. (2556). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การย้อมผ้าไหมจากสีธรรมชาติ
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กศ.ม. (สาขาวิจัยและประเมินผลการศึกษา)
มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วินิตา สร้อยเพชรประภา. (2557). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย.
วิทยานิพนธ์ กศ.ม.(สาขาวิชาการสอนภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). คู่มือการจัดการเรียนรู่กลุ่มสาระคณิตศาสตร์.
กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุ.
Bloom, Benjamin S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives Book 1: cognitive
Domain. London: Longman Group Limited.

Downloads

Published

2021-04-18