การประเมินความต้องการจำเป็นในการเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

ผู้แต่ง

  • ทรงสิริ วิชิรานนท์ Rajamangala University of Technology Phra Nakhon
  • อรุณี อรุณเรือง Rajamangala University of Technology Phra Nakhon

คำสำคัญ:

การประเมิน, ความต้องการจำเป็น, มหาวิทยาลัยดิจิทัล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาและเปรียบเทียบสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่คาดหวังในการเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครและ2) เพื่อประเมินความต้องการจ าเป็นในการเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาแบ่งเป็น3กลุ่มได้แก่1) นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษา2560 2) อาจารย์ผู้สอน3) บุคลากรสายสนับสนุนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์21สถิติที่ใช้คือความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าทีและดัชนีการจัดเรียงล าดับความส าคัญของความต้องการจ าเป็น (PNIModified) ผลการศึกษาพบว่า
1. สภาพปัจจุบันและสภาพที่คาดหวังในการเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัลนักศึกษาและบุคลากรสายสนับสนุนมีค่าเฉลี่ยของสภาพที่เป็นจริงกับสภาพที่ควรจะเป็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01โดยสภาพปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยต่ ากว่าสภาพที่คาดหวังในทุกด้านในขณะที่ผู้สอนมีค่าเฉลี่ยของสภาพที่เป็นจริงกับสภาพที่ควรจะเป็นไม่แตกต่างกันแต่เมื่อพิจารณาในรายด้านจะเห็นได้ว่าสภาพปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยต่ ากว่าสภาพที่คาดหวังในทุกด้าน
2.ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล พบว่า ในกลุ่มนักศึกษามีความต้องการจ าเป็นเกี่ยวกับด้านห้องเรียนห้องปฏิบัติการมากที่สุด ในกลุ่มของอาจาร์ยผู้สอนมีมีความต้องการจำเป็นเกี่ยวกับด้านห้องเรียนห้องปฏิบัติการและด้านระบบบริการทรัพยากรการเรียนรู้มากที่สุด และในกลุ่มของบุคลากรมีความต้องการจำเป็นมากที่สุดคือ ด้านระบบบริการทรัพยากรการเรียนรู้

References

ปิยมาภรณ์ โชคอวยชัย. (2548). การสนองความต้องการจําเป็นด้านสมรรถนะสารสนเทศทางการพยาบาลและอุปสงค์ผ่านผลของการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุย้อนกลับ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิบัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (2015). โครงการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2548). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพรส.

สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์.(2560). แนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัยในประเทศไทย . การประชุม HUAWEI CONNECT 2017 ณ เมือง เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน.

หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก .(2559). ราชมงคลพระนครมุ่งพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยดิจิทัล ประจำวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559.

อรวรรณ ป้อมดำ. (2558). การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารและเทคโนโลยีสำหรับการเรียนรู้. วารสารวิชาการ. มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือน กันยายน-ธันวาคม 2558 (221-231)

อรวรรณ สุขยานี . (2558). ความตั้งใจในการใช้ระบบสารสนเทศการบริหารทรัพยากรบุคคลของบุคลากร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ : การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

McKillip,J. (1987). Needs Analysis;Tools for the Human Services and Education. Nerbury Park: CA: Sage.

Witkin,B.R. & Altschul,J.W. (1995). Planning and Conduction Needs Assessments; A Practical Guide Thousand and Oaks, Ca:Sage Publications,Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-02-22