นวัตกรรมทางการศึกษาสำหรับวิชาประวัติศาสตร์ไทย
คำสำคัญ:
วิชาประวัติศาสตร์ไทย, นวัตกรรมทางการศึกษา, การเรียนรู้บนฐานนวัตกรรมบทคัดย่อ
การสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาสำหรับวิชาประวัติศาสตร์ไทยของผู้เรียน ให้ความสำคัญกับการเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21 คุณค่าประชาธิปไตย กระบวนการคิดเชิงระบบและการคิดเชิงวิพากษ์ บทบาทของผู้สอนควรให้ความสำคัญกับการผสมผสานระหว่างการอภิปรายในชั้นเรียน กระบวนการศึกษาทางประวัติศาสตร์ การออกแบบสื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเปิดกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น ดิจิทัล อินเตอร์เน็ต สมารท์โฟน ระบบคลาวด์ เกมดิจิทัล และสื่อการเรียนรู้ในท้องถิ่น เป็นพื้นฐานในการวิเคราะห์หลักฐานชั้นต้นและชั้นรอง โดยคำนึงถึงเงื่อนไขและปัจจัยสำคัญ ได้แก่ ความยากง่ายของหัวข้อและเนื้อหา ความสามารถที่แตกต่างกันแต่ละระดับชั้น ข้อจำกัดด้านระยะเวลาและความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล และวางบนพื้นฐานของการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ความสนใจ และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). แนวการจัดกิจกรรม Active learning ที่เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์: ประวัติศาสตร์ชาติไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
นิคม ชมภูหลง. (2545). วิธีการและขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นและการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2537). หลักและวิธีการสอน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ม.ป.ป., 15 กรกฎาคม). วิธีสอนแบบอภิปราย (Discussion method). https://prezi.com/2ysjepi_msdy/discussion-method/
วิภาดา พินลา. (2560). เทคนิคการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สำหรับครูสังคมศึกษาในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 21. วารสารปาริชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 30(2), 1-19.
Desinguraj, S., & Kumar, S.S. (2021). Innovative method of teaching In history-school level. Universe International. Journal of Interdisciplinary Research, 1(10), 1-7.
Haupt, P.M. (2013). Connecting the dots: History teaching in the 21st century classroom- juggling reason, technology and multi-media in the world of the young technophile. Yesterday & Today, 10, 167-173.
Moreira, A.I., Alves, L.A.M., & Duarte, P. (2022). Teaching (History) in the 21st century: New competencies with identical contents. Estudos Ibero-Americanos, 48(1). 1-16.
Piña, O.D. (2018). Teaching history: Innovation and continuity since Rafael Altamira. Spanish, Journal of Pedagogyyear, 76(269), 141-155.
Sandberg, J., Maris, M., & Hoogendoorn, P. (2014). The added value of a gaming context and intelligent adaptation for a mobile learning application for vocabulary learning. Comput. Educ. 76, 119–130.
Suslov, A.Y., Salimgareev, M. V., & Khammato, S.S. (2017). Innovative methods of teaching History at modern universities. The Education and Science Journal, 19(9). 70-85.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution 4.0 International License.
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา