วินัยเชิงบวกของเด็กปฐมวัยสู่การเรียนรู้บนฐานวิถีชีวิตใหม่

ผู้แต่ง

  • นัฏฐ์ดนุช จรครบุรีธนาดุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ทนง ทองภูเบศร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  • ชินวงศ์ ศรีงาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

คำสำคัญ:

วินัยเชิงบวก, การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย, ฐานวิถีชีวิตใหม่

บทคัดย่อ

วินัยเชิงบวกของเด็กปฐมวัย ถือเป็นสิ่งสำคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา เด็กปฐมวัยควรได้รับประสบการณ์ที่ดีจากสภาพแวดล้อมรอบตัว ซึ่งพ่อแม่ ครู หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง มีส่วนช่วยส่งเสริมและสนับสนุนระบบนิเวศการเรียนรู้ (Learning ecosystem) ของเด็กปฐมวัยผ่านการใช้วินัยเชิงบวกโดยยึดหลัก คือ 1) กำหนดความคาดหวังเชิงพฤติกรรมที่จะเกิดขึ้นกับเด็ก 2) เคารพและเข้าใจความแตกต่างของเด็ก 3) สื่อสารอย่างมีเหตุผล รับฟัง และเคารพ
ความคิดเห็นของเด็ก 4) เป็นแบบอย่างที่ดีและเหมาะสม และ 5) สนับสนุนพฤติกรรมที่ดี และส่งเสริมศักยภาพของเด็ก การเกิดการเปลี่ยนแปลงอันนำไปสู่ฐานวิถีชีวิตใหม่ ทำให้เด็กปฐมวัยเผชิญกับความท้าทายด้านการเรียนรู้ บวกกับการใช้สื่อเทคโนโลยีที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยต้องปรับตัวตามสภาวการณ์ที่เกิดขึ้นเช่นกัน ดังนั้น การสร้างวินัยเชิงบวกในเด็กปฐมวัยถือเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาคนในยุคของการเปลี่ยนแปลง ที่ควรเริ่มตั้งแต่เด็กปฐมวัยเพราะถือเป็นวัยที่มีพัฒนาการแห่งการเรียนรู้ที่รวดเร็วที่สุด อันจะส่งผลต่อการเสริมสร้างทักษะทั้ง 3 ด้าน คือ1) EQ (Emotional quotient): ความฉลาดทางอารมณ์ 2) SQ (Social quotient): ความฉลาดทางสังคม และ 3) MQ (Moral quotient): ความฉลาดทางศีลธรรม ซึ่งทักษะเหล่านี้ล้วนส่งเสริมการเรียนรู้บนฐานวิถีชีวิตใหม่ และสอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาทั่วโลก ที่มุ่งเน้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เกิดทักษะชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นสุข และเติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของสังคม

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2564, 12 กรกฎาคม). การเรียนยุค 'New normal' เปิดพื้นที่สร้าง 'Passion' เรียนรู้ตลอดชีวิต. https://www.bangkokbiznews.com

กลิ่นแก้ว มาตา, ชวนชม ชินะตังกูร, และ กมลมาลย์ ไชยศิริธัญญา. (2563). การจัดการศึกษาปฐมวัยในสองทศวรรษหน้า. Research and Development Journal Suan Sunandha Rajabhat University, 12(1), 99-109.

กุลชาติ พันธุวรกุล, และ เมษา นวลศรี. (2562). เด็กปฐมวัยกับการเป็นพลเมืองดิจิทัล: โอกาสหรือความเสี่ยง. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 47(2), 1-23.

จิรังกูร ณัฐรังสี, ทศา ชัยวรรณวรรต, และ กมลเนตร วรรณเสวก. (2563). ก้าวข้ามความรุนแรงสู่การใช้วินัยเชิงบวกในการแนะแนวทางเด็กและเยาวชน. เวชสารแพทย์ทหารบก, 73(3), 173-179.

ณฐมน สีธิแก้ว, ศลิษา โกดยี่, เกศมณี มูลปานันท์, ขนิษฐา พิศฉลาด, ฉันทนา แรงสิงห์, อรนลิน สิงขรณ์, และสุริยเดว ทรีปาตี. (2565). การศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อพฤติกรรม การเลี้ยงดูเชิงบวกของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย และความคิดเชิงบริหาร ของเด็กปฐมวัยในจังหวัดเชียงราย. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 32(3), 122-133.

ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย์, และ อมรา ธนศุภรัตนา. (2564). โปรแกรมการส่งเสริมพัฒนาการ และสร้างวินัยเชิงบวกโดยครอบครัวมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร.

เทื้อน ทองแก้ว. (2563). การออกแบบการศึกษาในชีวิตวิถีใหม่ (Design- Based New Normal): ผลกระทบจากการแพร่ระบาด COVID-19. คุรุสภาพวิทยาจารย์ Journal of Teacher Professional Development, 1(2), 1-10.

ธิดา พิทักษ์สินสุข. (2562). วิกฤตปฐมวัยกระทบอนาคตชาติ. วารสารการจัดการศึกษาปฐมวัย, 1(1), 77-89.

ปริญญา ไทยลา, อังคณา อ่อนธานี, และ จักรกฤษณ์ จันทะคุณ. (2565). เด็กปฐมวัยกับการส่งเสริมการเรียนรู้แบบใหม่ในวิถี New Normal. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13(1), 189-201.

ปิยนันท์ พูลโสภา. (2560). การพัฒนาการเล่น เพื่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 32(1), 20-27.

พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562. (2562, 30 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอนที่ 56ก. หน้า 5-16.

พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2563). การบริหารจัดการศึกษารับความปกติใหม่หลังวิกฤตโควิด-19. วารสารศิลปการจัดการ, 4(3), 783-795.

มาลี บุญศิริพันธ์. (2563, 6 พฤษภาคม). รู้จัก "New Normal" ฉบับราชบัณฑิตยสภา. https://news.thaipbs. or.th/content/292126

รักษิต สุทธิพงษ์. (2560). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิตอล. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(2), 344-355.

ราชบัณฑิตยสภา. (2563, 14 พฤษภาคม). New Normal. https://royalsociety.go. th/new-normal/

วัยวุฒิ บุญลอย. (2564). นิวนอร์มัลในการพัฒนาเด็กตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562. จันทรเกษมสาร, 27(1), 38-59.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2563, 20 มกราคม). ปัญหาพัฒนาการเด็กไทย กับแนวทางการพัฒนาที่สอดรับกับทักษะเด็กในศตวรรษที่ 21. https://www.hsri.or.th/media/news/detail/12472

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3 - 6 ปี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563ก). รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น สิงค์โปร์ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563ข). รายงานการศึกษาสภาวการณ์การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565, 27 มกราคม). เกี่ยวกับ SDGs. https://sdgs.nesdc. go.th/

สุภาวดี หาญเมธี. (2561). คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF Executive Functions สำหรับครูปฐมวัย (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มติชน.

สุวิมล มธุรส. (2564). การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค NEW NORMAL COVID-19. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(40), 33-42.

Berk, L. E. (2018). Development Through the Lifespan. Pearson.

Bozkurt, A. & Sharm, R. C. (2020). Emergency remote teaching in a global crisis due to the Corona Virus pandemic. Asian Journal of Distance Education, 15(1), 1-6.

Daniel, S. J. (2020). Education and the Covid-19 pandemic. Prospects, 49, 91–96.

Gershoff, E. T. (2013). Spanking and child development: We know enough now to stop hitting our children. Child development perspectives, 7(3), 133-137.

Gfroerer, K., Nelson, J., & Kern, R. M. (2013). Positive Discipline: Helping Children Develop Belonging and Coping Resources Using Individual Psychology. The Journal of Individual Psychology, 69(4), 296-297.

Koopman, C. (2019). How we become our data : A genealogy of the informational person. Chicago: University of Chicago Press.

Musthofiyah, L., Sopiah, S., & Adinugraha, H. (2021). The Implementation of Distance Learning on Early Childhood Education During New Normal Era of Covid-19. Journal of Educational Studies, 6(1), 32-47.

Nelsen, J. (1981). About Positive Discipline. http://Positivediscipline.com> about- Positive – discipline

Nelsen, J. (2006). Positive Discipline for Preschooler. New York: Penguin Random House Company.

Nelsen, J., Erwin, C., & Duffy, R. (2016). Positive Discipline. New York: Ballantine Books.

Nelsen, J., Lott, L., & Glenn, H. S. (2019). Positive Discipline. New York: Ballantine Books.

Simons, D. A. & Wurtele, S. K. (2010). Relationships between parents’ use of corporal punishment and their children's endorsement of spanking and hitting other children. Child abuse & neglect, 34(9), 639-646.

Soares, L., & Hernandez, J. (2022). Construction and Evidence of Validity of the Positive Discipline Parenting Skills Scale. Psicologia: Teoria e Prática, 24(1), 1–24.

Thakur, K. (2017). Fostering a positive environment in schools using positive discipline. Indian Journal of Positive Psychology, 8(3), 315-319.

United Nations Children’s Fund (UNICEF). (2019). A world ready to learn: Prioritizing quality early childhood education. New York: United Nations Children’s Fund.

Wanga, W. & Kuo, C. (2019). Relationships Among Teachers’ Positive Discipline, Students’ Well-being and Teachers’ Effective Teaching: A Study of Special Education Teachers and Adolescent Students with Learning Disabilities in Taiwan. International Journal of Disability, Development and Education, 66(1), 82-98.

Zuković, S., & Stojadinović, D. (2021). Applying positive discipline in school and adolescents’ self-esteem. International Journal of Cognitive Research in Science, Engineering and Education, 9(1), 1-11.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-04-2024